การพระอธิษฐานในมรรคธรรม มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 3 หน้า 190
หน้าที่ 190 / 265

สรุปเนื้อหา

เนื้อความนี้นำเสนอเกี่ยวกับการพระอธิษฐานในมรรคธรรม และพระอรรถกถาที่เกี่ยวข้อง ซึ่งระบุถึงวิธีการและจุดมุ่งหมายของการอธิษฐานในการปฏิบัติธรรม นอกจากนี้ยังกล่าวถึงความสำคัญของกรรมและอารมณ์ที่เกี่ยวข้องในการอธิษฐาน โดยเสนอให้บุคคลตั้งใจและละเว้นสิ่งไม่ดีเพื่อให้เข้าถึงนิพพานได้ในที่สุด ข้อมูลทั้งหมดนี้สอดคล้องกับอรรถกถาในพระพุทธศาสนา

หัวข้อประเด็น

-พระอธิษฐาน
-มรรคธรรม
-อรรถกถา
-กรรมและอารมณ์
-การปฏิบัติธรรม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค ๕ - มังคลัดถาที่นี้เป็นเปล เล่ม ๓ หน้า ๑๙๐ หรือว่า "คนละฤทธิ์สันนิบาตใด, ย่อมไม่รู้ฤทธิ์สันนิบาตนั้น ดังนี้." ก็พระอธิษฐานบุคคลผู้ตั้งในมรรค ปรารถนามรรคธรรม ละเว้นทั้งปวง พึงเป็นอาทรณ์ในเรื่องนี้ได้. เนื้อความทั้งหมดนี้ ข้าพเจ้าได้จากอรรถกถาทุกกถา [๑๙] แม้ในอรรถถกถาสัมมาทิฏฐิสุดเป็นต้น พระอรรถถก- ารย์ทั้งหลายหมายเอาการ ทั้งว่า "กรรมบังทั้งหลายมีไทมเครื่อง ทุกสิ่งเป็นอารมณ์ และมีชีวิตรื่นเริงเป็นต้นเป็นอารมณ์ ย่อมจะโทษ เครื่องกสิลได้อย่างไร? จึงกล่าวว่า "เหมือนอย่างว่า อธิษฐาน มีนิพพานเป็นอารมณ์ ย่อมจะเลิกทั้งหลายได้ ฉันใด; กรรมบัง ทั้งหลายมัน มีชีวิตรื่นเริงเป็นต้นเป็นอารมณ์ พึงทราบว่า ย่อมจะ โทษเครื่องกสิลทั้งหลาย มีปาณาติปњดเป็นต้นได้ ฉันนั้น." [๒๐] นอกจากอรรถถกถาทุกกถาว่า "แม่สีขบทั้งหลาย นัน อันสามารถสมาทานอยู่ ในสำนึกของภิทปฏนีท่านนี้ จึงเป็นอัน สมทน. ส่วนอุบาสก (และอุบาสิกา) สมาทานรวมกัน (ทุก สิขาบท) ก็ ดี เฉพาะองค์ (คือที่ละสิขาบท) ก็ ดี ด้วยตนหรือ ในสำนักของผู้อื่น ก็ เป็นอันสมาทาน. ท. ถ้าอุทษสมาทานและป้องอาสสมาทาน ต่างกันอย่างไร? ว. เมื่ออุบาสก (อุบาสิกา) สมาทานรวมกัน วิธีก็ดี เจตนา ดีก็ดี เป็นอันเดียวกันเทียว, แต่ความที่วิธีเดียวและเจตนาเหล่านั้นเป็น ๕ พระผู้พระภาคตรงบัญญัติ ด้วยสมาจิกอ. เมื่ออุบาสก (อุบาสิกา)
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More