มังคลดำ - ความสำเร็จตามธรรมชาติ มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 3 หน้า 193
หน้าที่ 193 / 265

สรุปเนื้อหา

ข้อความนี้อธิบายถึงแนวคิดเรื่องความสำเร็จตามธรรมชาติในมังคลดำ โดยเสนอว่ามนุษย์และสัตว์มีการเดินทางหรือตำแหน่งที่สูงขึ้นหรือต่ำลงตามเจตนาและการตัดสินใจ ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความสำคัญของเจตนาและการรับรู้ถึงผลของการกระทำในทางธรรม ทั้งนี้ พระอรรถกถาได้กล่าวถึงความไม่ยินดีในบาปว่าเป็นสิ่งที่ต้องเห็นโทษเพื่อการปฏิบัติงานที่ดี.

หัวข้อประเด็น

-ความสำเร็จตามธรรมชาติ
-เจตนาในวินิจฉัย
-คำสอนของพระอรรถกถา
-อริยมรรค
-การเห็นโทษในบาป

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค ๑ - มังคลดำก็มีเปล เล่ม ๓ - หน้าที่ ๑๙๓ ปฏิปิกข์ เพราะเหตุนี้ พระอรรถกถาจึงกล่าวว่าคืออเวพรดี บทว่า โยนิโสทิฐิ ควาวว่า สำเร็จโดยธรรมชาติ ประหนึ่งความ ที่มนุษย์ผู้อวะซวยไปทางสูง สัตว์รัชฉนาวไปทางขวานั้นแหละ ความสำเร็จตามธรรมดา คือตามสภาพนันเอง ชื่อว่ามีสำเร็จโดยธรรมดา ดูคือลำเรื้อแก่พระมารดาดพระโพธิสัตว์ ในเมื่อพระโพธิสัตว์อยู่ในครรภ์อีกอย่างหนึ่ง ความสำเร็จโดยธรรมดาแหงมรรค คือตามอนุภาพแห่งอริยมรรค ชื่อว่ามีสำเร็จโดยธรรมดา." ก็เพราะเหตุที่วีดีเป็นประธานในการจุดเวรนั้น ๆ เหตุชนิ เจตนาอเวรมณีในสภาพานทั้งปวง ท่านจึงกล่าวว่าด้วยวิติอันงั้น แม้มดคน ก็ชื่อว่าสำเร็จนี. ด้านเหตุนี้นั่น พระอรรถกถาจึงกล่าวไว้ในธรรถกถาสมมติสุทธิสุนิตย์ ว่า "บรรดาธรรมดาแม่ทั้ง ๑๐ นั้น ๆ ข้อโดยลำดับ ย่อมควรทั้งเจตนา ทั้งวิริทธิ." [๒๕] โกทกาจารย์กล่าวว่าทั้งในมงคลอันว่า "เจตนาเครื่องวินาจการนั้น ๆ พระผู้พระอรหตรัสได้ยกย่องว่าวิธี นี้แล้วมิใช่หรือ ? เพื่อประโยชน์อะไร จิตตระว่า อาศร ๆ อื่น เอาเล่า)?" บริหารกายซึ่งกล่าวว่า "ที่ตรัสว่า อาศร ไว้ (อีก) ก็เพื่อทรงแสดงความที่ติไม่ยินดีงั้นในบาป." เหตุนี้น พระอรรถกถาจึงกล่าวไว้ในธรรถกถา ว่า "ความไม่ยินดีซึ่งด้วยในนั่นแหละ ของผู้มปติเห็นโทษในบาป ชื่ออรติ." แท้จริง แมเหตุสืบว่าจิตปุบบาท
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More