การสนทนาเกี่ยวกับปาณาติบาตและสถานะของสัตว์ มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 3 หน้า 189
หน้าที่ 189 / 265

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาพูดถึงการอภิปรายเกี่ยวกับปาณาติบาตและความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลกับสัตว์ โดยมีการกล่าวถึงคำสอนจากอาจารย์ต่างๆ ว่าบุคคลควรมีจิตที่สงสาร และไม่ควรทำร้ายสังขารและสัตว์อื่น โดยเฉพาะเมื่ออยู่ในสภาวะที่ไม่มั่นคงหรือเนื่องจากน้ำเมา คำสอนเหล่านี้ชี้ให้เห็นถึงความสำคัญของการรักษาศีลธรรมและความเข้าใจในความเป็นจริงที่เกิดขึ้นในขณะที่มีอารมณ์ต่างๆ

หัวข้อประเด็น

-ปาณาติบาต
-อาจารย์
-น้ำเมา
-ศีลธรรม
-สังขาร

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ส่วนอาจารย์ข้างพวกกล่าวว่า "บุคคลปรารถนาสงสารกล่าวคือ น้ำเมาแล้ว ย่อมเวียนจากฐานะเป็นที่ตั้งแห่งความประมาณเพราะน้ำเมา. บรรดาสัตว์และสังขารทั้งหมด สัตว์และสังขารใด อันควรพึงลักและ พิงหักเสีย บุคคลปรารถนาสังขารและสังขารนั้น เว้นจากปาณาติบาตและอพ PRaมบรรรย์." คำอาจารย์ข้างพวกนั้น ถูกโดยอ้อม. อาจารย์ขวกอื่นจากกิอาจารย์นั้น กล่าว่า "เมื่อเป็นเช่นนั้น บุคคลดิกล่าวอื่น (แต่) ทำกิจอัน อื่น คนละอุคดไอไ ม่พึงรู้ลูก นั้น" ดังนี้ เมื่อไม่พอใจ จึงว่าว่า "คนละอุคเฉลยข้อใด ตั้งปรรถฤอุคสม ปาณาติบาตเป็นต้นข้อของตนเองแล้ว แล้ววันได้." คำของ อาจารย์ขวกอื่นจากกิอาจารย์นั้นไม่ถูก เพราะเหตุไร ? เพราะความ ที่อุคดมีปฎิบัตินิดเป็นต้น มีอารมณ์เป็นปัจจุบัน มีอารมณ์เป็นกายอออก” ดังนี้. พระพุทธอพนั้น ย่อมไม่เหมาะแก่ผู้ปรารถนางอุคดสมาปนาถเป็นต้นนั้น ของตนเองอยู่. อันมี คำใดที่อาจารย์กล่าวว่าไว้ "อญญู จิณฺฑคฺโต" เป็นต้น. คำนันไม่ถูก เพราะบุคคลประพฤติอยู่ ด้วยสามารถแห่งกายยังกิจ ให้สำเร็จบันต์ต่ออ่มไม่รอช้า "คิดกิจอัน (แต่) ทำกิจอืน".
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More