การแสดงธรรมแก่ชนเหล่าอื่น มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 3 หน้า 52
หน้าที่ 52 / 265

สรุปเนื้อหา

บทนี้แสดงให้เห็นถึงการเตรียมการแสดงธรรมแก่ผู้ฟัง การตั้งธรรม ๕ ข้อเป็นสิ่งสำคัญ และการต้องมีจิตใจที่มั่นคง การแสดงธรรมต้องมีความเข้าใจและไม่กระทบตนเองหรือผู้อื่น พระธรรมกถิก็จะแสดงธรรมแก่ชนเหล่าอื่น โดยการใช้สูตรและคำอธิบายที่เหมาะสมตามความสอดคล้องของธรรมชาติ.

หัวข้อประเด็น

-การแสดงธรรม
-ธรรมกถา
-อนุปุพพีกา
-อุทายนสูตร
-พระธรรม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค ๑ มังลัดกถาในนี้แปล เล่ม ๓ หน้า ๕๒ ธรรมกถิก็พึงแสดงธรรมแก่ชนเหล่าอื่นด้วยคิดว่า "จักกล้ำถ้อยคำไม่กระทบตนและผู้อื่น" อานนท์ การแสดงธรรมแก่ชนเหล่าอื่นเป็นการทำง่ายๆเท่าไรได้ อานนท์ พระธรรมกถิก็จะแสดงธรรมแก่ชนเหล่าอื่น พึงตั้งธรรม ๕ ข้อเหล่านี้ไว้ในคนแล้วจึงจะแสดงธรรมแก่ชนเหล่าอื่น ฉะนั้นแล้ว" อุทายนสูตร จบ. [๔๕] อรรถกถาอุทายนสูตรนั้นว่า "เทวา อนุปุพพีก็ ความว่า พระธรรมกถิก็ยังจิตให้ตั้งไว้ว่า "เราจักกล่าวเทศนา อนุปุพพีกาถอยนั้น คือ ศิลในอภิบาลแห่งทาน สวรรค์ในลำดับแห่ง ศิล ดังนี้เป็นต้น หรือว่าพระสูตรรือบทกถาใด ๆ เป็นบทที่ตั้ง ไว้ (จักกล่าว) ถอดอันสมควรแก่บันทันๆ ดังนี้แล้ว จึงแสดงธรรม แก่ชนเหล่าอื่น." บทว่า ปริตยสุตฺว ก็ความว่า แสดงเหตุ นั้น ๆ แห่ผลนั้น ๆ ก็เหตุท่านกล่าวว่า ปริตยาในบทว่า ปรัยย- สุตฺว นี้ สองบทว่า อนุทธต คำว่า อนุทุต เป็นอันว่า อนุทิวติ ปฏิจฺจ สา ความว่า อธิษฐานความ อนุเคราะห์ว่า ' เราจักเปลืองสัตว์ผู้ล้นความคับคั่งบมา จากความ คับแค้น' บทว่า อามิสุตฺโร ได้แก้ไขไม่มีอามิสเป็นเหตุ อธิบาย ว่า ไม่หวังการได้ปัจจัย เพื่อคนเลย บบทว่า อนุปูจฺจ ความ ว่า ไม่เข้าไปกระทบตนและผู้อื่น ด้วยสามารถรบตนและข่มผู้อื่น เป็นต้น ด้วยอารักขคุณ."
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More