มังคลัตถาและเมตตาจิตติ มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 3 หน้า 85
หน้าที่ 85 / 265

สรุปเนื้อหา

บทนี้กล่าวถึงความสำคัญของเมตตาจิตติและการเว้นจากการทำร้ายสัตว์อย่างไร พระผู้มีพระภาคตรัสเกี่ยวกับความจริงในการมีจิตใจที่เมตตาและการประพฤติซึ่งถือว่าเป็นอันดีในด้านทำดีเพื่อตนและผู้อื่น พระองค์ชี้ให้เห็นว่าเมตตาจิตติเป็นคุณลักษณะสำคัญที่จะช่วยให้มนุษย์มีความสงบสุขและมีชีวิตที่มีคุณภาพ ด้านพระอาจารย์ยังให้แนวทางในการปฏิบัติตนให้มีเมตตาและกรุณาต่อสัตว์ ซึ่งการทำตามคำสอนเหล่านี้จะช่วยเพิ่มคุณธรรมในชีวิต.

หัวข้อประเด็น

- ความหมายของเมตตาจิตติ
- การเว้นจากการทำร้ายสัตว์
- พระธรรมคำสอนเกี่ยวกับเมตตา
- บทบาทของการทำดีในชีวิต
- การประพฤติตามคำสอนของพระผู้มีพระภาค

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค ๕๕ มังคลัตถาในนี้แปล เล่ม ๓ หน้า ๘๕ บุคคลนั้น ชื่อว่าวิมิติตามมิ้ง ใจ ชื่อว่า เมตตาจิตติ ตราแห่งบุคคลผู้งิมิติจิตตานั้น ชื่อว่า เมตตาจิติตตา (ความเป็นแห่งบุคคลผู้งิมิติมิตตา), บันฑิต พิงทารเนื่องจากความด้วยประการฉะนั้นแล้ว พระผู้มีพระภาคตรัสแสดง ความที่ว่าตีนเป็นกิริยาไม่มีที่สิ้น ด้วยสามารถแห่งสัตว์ ด้วยคำว่า 'สัพพุปปาณญุติตตาอนุตตา' นี้. กล่าวว่า ปาณฑกติ คือ ซึ่ง สัตว์ทั้งหลาย. กล่าวว่า อนุตติโก คือ ผู้ประพฤติสิงูณ. ก็ เมตตา ย่อมมีใจอันแปลกออกจากกุฎนา เพราะเหตุนี้ พระอธิษฐานยิ่งกล่าวว่า ตาย เอก ทายปนตาย ดังนี้. บันฑิต พึงเห็นเนื้อความในคำว่า 'ทัย เมตตาจิตติ อนุตติโก' นี้ อย่างนี้ ว่า ความเว้นจากปาณิบาต ย่อมสำเร็จได้ ด้วยธรรมเหล่าใด พระอธิษฐานอธิบายความเป็นผู้ประกอบตัวด้วยธรรมเหล่านั้น คือ ความละอาย เมตตาและกรุณา กับด้วยธรรมเป็นไปในเบื้องหลัง. พระอาจารย์กล่าวชูจามในข้อว่า ว่า พระผู้มีพระภาคตรัสแสดง เอกวณะ. ในบทว่า 'ปาณฑกิฏัตปนาย' เพราะเหตุอะไร? การเว้นจากอันสัตว์ทั้งหลายไม่มีส่วนเหลือให้ทอดล่วงไป พระองค์กร ทรงประสงค์เอาในคำนั้น มัยหร๋อ? จริงอย่างนั้น พระองค์ตรัสว่า 'สัพพุปปาณญุติตตาอนุตตา' ดังนี้. เพราะฉะนั้นนั่นแล พระอรทอดกายอึ้งกว่าที่กล่าวในอรรถกว่าว่า พระผู้พระภาคควรทำ คำพรรณวัสฺชนา ว่า คำที่กล่าวนี้จริง ก็แต่ว่า พระผู้ภาค แม้ทรงทำคำนี้ในคำนั้น ให้เป็นคำพท์แสดงเอกวณะแต่ต้นในพระบาฬี
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More