การทำลายและสิกขาบทในพระพุทธศาสนา มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 3 หน้า 192
หน้าที่ 192 / 265

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับการทำลายสิกขาบทในพระพุทธศาสนา สรุปความสำคัญของการประพฤติปฏิบัติตามสิกขาบทที่สมาทาน และการแสดงถึงลักษณะของพระอริยสาวกที่ไม่ปฏิบัติในสิ่งที่เป็นโทษ เช่น การดื่มสุรา สังเกตได้จากการที่น้ำไม่นำเข้าไปในปากของพระอริยสาวก ในขณะที่มีมารอยู่ในโลก จะมีการทำลายหรือไม่ขึ้นอยู่กับการรักษาสิกขาบทอย่างดี.

หัวข้อประเด็น

-สิกขาบทและความสำคัญ
-การทำลายและสุขภาพ
-พระอริยสาวกและการปฏิบัติ
-ความไม่ทำลายในธรรมดา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค ์ มั้งคลาดทีมปีนเปล เล่ม ๓ หน้าที่ ๑92 ทั้งหมด ก็เป็นอันทำลาย ผู้ใดรู้อันที่จะขอ ฯ ผู้นั้นล่วงสิกขาบทใด, สิกขาบทนั้นเท่านั้น ย่อมทำลาย." มีฎกฎกุฏิทสูตรนั้น ว่า "สิกขาบททั้งหมด ย่อมเป็นอันทำลาย เพราะความเป็นสิกขาบทที่สมาทานรวมกัน สิกขาบทนั้นเท่านั้น ชื่อว่าทำลาย เพราะความเป็นสิกขาบทที่สมาทานเป็นแผน ฯ. วิธีนี้นั่น ท่านกล่าวว่ามารฉสามารถถอดสูตร" [๑๕๑] โลกวิธีทีนั่น มีอาการทำลายเป็นสุขภาพ โลดคร-วิธีดัง หมามีการทำลายเป็นสภาพไม่ ด้วยประกายฉนี้, ด้วยเหตุ นั่นแล ในอรรถกฎูกทมันสูตร พระอรรถกฎูชึ่งกล่าวว่า "ก็ธรรมดาความทำลายแห่งเสตมาวิธีดี ย่อมไม่มี. เพราะพระอริย-สาวก ย่อมไม่ฆ่าสัตว์ ไม่ดิ่มสุรา แม้พระฤทธแห่งชีวิต แม้ในระหว่าง ภพ. แม้ข้าง ชนทั้งหลายเจือสุราและน้ำมน กรอกเข้าไปในปากของท่าน, น้ำมนั้นย่อมไหลเข้าไป, สุราไหลเข้าไปไม่; เหมือนอย่างที่ เล่ากันมา เมื่อ น้ำเจื่อน้ำมน( ที่บุคคลกรอกเข้าไปในปาก) ของ นกกะเรียนทั้งหลาย น้ำมนั้นไหลเข้าไป, น้ำไหลเข้าไปไม่; กรัอันข้าไม่ไหลเข้าไปในปากของนกกะเรียนนี้ พึงกล่าวว่า สำเร็จโดย กำเนิด. การที่สุราไม่เข้าไปในปากของพระอริยะสาวกอเนื่องนี้พึงทาบว่า สำเร็จโดยธรรมดา." ฎีกากฎันทสูตรนั้น ว่า "ชื่อว่าการทำลายแห่งเสตมาวิธี ไม่มี เพราะมีการไม่กำเริบเป็นสภาพ เหตุุดได้เดือนจงชึงธรรมเป็น ๑. ส. วิ. ๑/๑๒๓.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More