การประทุษร้ายและวิธีการประพฤติธรรม มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 3 หน้า 228
หน้าที่ 228 / 265

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับการประทุษร้ายต่อมิตรและผลที่ตามมาจากการกระทำเหล่านั้น พร้อมกับการกล่าวถึงพระราชาที่ทรงประพฤติธรรม ไม่ฆ่าสัตว์และทานอาหารปราศจากเนื้อในวันอุโบสถ ซึ่งส่งผลกระทบต่อประชาชนเช่นกัน การรักษาธรรมในการดำเนินชีวิตเป็นเรื่องสำคัญสำหรับการดำรงอยู่ในสังคม.

หัวข้อประเด็น

-การประทุษร้าย
-ผลกระทบของการกระทำ
-พระราชาและการทรงธรรม
-การทำบุญในพระนคร
-ค่านิยมทางศิลปะในอดีต

ข้อความต้นฉบับในหน้า

[๒๐๕] "ท่านผู้ประทุษร้ายต่อมิตรผู้ไมประทุษร้าย เป็นผู้ประทุษร้ายและเป็นผู้สูญเสีย, ด้วยคำกล่าว คำคำนี้ ขออธิบายของท่านจงแตกโดย ๗ เสียง." [แก้รายละเอียด] บรรดาผู้เหล่านั้น บท อฏฺฐุสุต สาว่า ผู้เจริญ ท่านเป็นผู้ประทุษร้ายต่อมิตร. ด้วยคำกล่าวนี้ว่า "ท่านเป็นผู้ประทุษร้าย และเป็นผู้สูญเสีย," เมื่อพยายามเห็นอุ่งนั้น ศีรษะของซีเปลือย แตกแล้วโดย ๗ เสียง. แผ่นดินได้ให้ช่องแก้เปลือยนั้นในที่แห่งเขา นั่งแล้วนั้นแหละ. ซีเปลือยนั้น พุฒมารา ถูกแผ่นดินสูบเข้าไปสู่แผ่นดิน เกิดในอเวจีแล้ว ด้วยประการฉะนี้. เรื่องซีเปลือยรับประมะ จบ กว่าว่าด้วยเรื่องในมุสาวาม จบ. [๒๐] ในอดีตกาล พระราชาในกรุงเทพฯ สีระองค์หนึ่ง เว้นจากน้ำเมาแล้วไม่อาเจาะแม่เพื่อทรงประพฤติธรรม กินเพื่อเสวย พระกระยาหารอันปราศจากเนื้อ. ในพระนคร ในวันอุโบสถทั้งหลาย ไม่มีการฆ่าสัตว์. คนทำครัวซื้อเนื้อในคดี ๑๑ แห่งปกนั้นเองแล้ว เก็บไว้. (วันหนึ่ง) เนื้อั้น คนทำครัวเก็บไว้ไม่ดี สุนัขทั้งหลาย จึงเคี้ยวกินเสีย. คนทำครัวไม่ได้เนื้อในวันอุโบสถ ไมอาจนำพระ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More