ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประก่อย๙ - มังคลดึกานนี้สเกลเล่ม ๓ หน้า๗๕
[๒๕] อรรถถาถายภวสูตรว่า "บทว่า พยาบุหนูจิตตา
คือ ผู้มีจิตพิสดุ เพราะการเสียซึ่งความเป็นปกติจิตติ เพราะไปตาม
ลิขิตแล้ว ย่อมละปกติภาพ เป็นจิตเสีย ประดุจว่าว่ายน้ำและอังอุบ
ฉะนั้น. บทว่า ปกุฏมนสุขปาปา คือ เป็นผู้มีความดำริในดีถูก
โทษประทุษร้ายแล้ว ได้แก้ เป็นผู้ประกอบด้วยความดำริในจิตอัน
ไม่เจริญ คือ อันยังความเสียหายให้เกิดขึ้นแก่ฉันทั้งหลายอื่น
คำว่า อนุญฺญา เป็นดัง บัณฑิตพึงถือเอาโดยอ้อมตรงกัน
ข้ามกับคำว่าขำเจ้ากว่าแล้ว
ก็พระอรรถถาถายว่าไว้ในอรรถถกณะแห่งปฏิสัมนามรรว่
"บทว่า อเวรา คือ เวนจากเวร. บทว่า อพยพชฺชฺน คือ เว้นจาก
พยาบาท. บทว่า อติวิตก คือ หาความมิได้. บาลว่า อนิเม ม ดังนี้
ข้าง คำว่า สุข อตฺตาน ปริหรนุต มีความว่า สัตว์ทั้งหลายจงเป็น
ผู้มีสุข ย่อมตกทุกข์ให้เป็นไปโดยคลา. บัณฑิตพึงทราบสัมพันธแห่งคำใน
บทว่า อเวรา เป็นดังนั้นอย่างนี้ว่า ก็พระสุตตรแสดงความ
ไม่คิดเห็นกบเกิน อันมีความไม่มุ่งไม่เวรนั่นเป็นมูล เพราะความหาวเหาะ
หมู่ชนออกจากนี้ ที่ถือเอาคำอื่น ด้วยว่าว่า อเวรา แสดงความ
ไม่มีความคับแค้น อันมีความไม่เวรนั่นเป็นมูล เพราะความหาวเหาะ
มุ่งได้ ด้วยบทว่า อพยพชฺชฺน. แสดงความไม่มีทุกข์ อันมีความไม่
คับแค้นนั่นเป็นมูล เพราะไม่มีความคับแค้น ด้วยบทว่า อนิเม
แสดงความบริหารอัตภาพโดยความสุข เพราะความไม่มีทุกข์ ด้วย
๑. ป. สุ. ๑/๑๕๕