การทำธรรมเครื่องขัดเกลาในพระพุทธศาสนา มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 3 หน้า 195
หน้าที่ 195 / 265

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาในบทนี้กล่าวถึงธรรมเครื่องขัดเกลาที่พระผู้มีพระภาคตรัสสอน ซึ่งประกอบด้วยการทำความดี การพัฒนาตนเอง และการตัดขัดเกลาความคิดที่ไม่ดี ในส่วนของการปฏิบัติธรรม ผู้เรียนควรมีการสอบถามและเล่าเรียน โดยการประกอบธรรมเนื่อง ๆ เพื่อความเจริญในจิตใจและการดำเนินชีวิตอย่างมีคุณธรรม นอกจากนี้ การกระทำที่ร่วมกันในกลุ่มจะช่วยสร้างสังคมที่ดีขึ้นและเปิดใจรับฟังกันในพุทธศาสนา

หัวข้อประเด็น

-ธรรมเครื่องขัดเกลา
-การปฏิบัติธรรม
-การพัฒนาตนเอง
-ความสำคัญของการเรียนรู้
-วิธีการทำความดี

ข้อความต้นฉบับในหน้า

วิธีสเป็นต้นนั้นใด โดยนัยว่า “ชนเหล่าอื่นจักเป็นผู้ขึ้นทะเบียนกัน เป็นอาทิ ฉะนะ เธอทั้งหลายพึงทำธรรมเครื่องขัดเกลากในเรื่องนี้' พระผู้มีพระภาคทรงประสงค์จะยังอักขรสไตล์โดยอ่อนให้พิศดาร จึงตรัสคำว่า ‘ปรร วิสิกา’ เป็นต้น. [จิตตุปปามะมีอุปการมาก] บรรดาชนเหล่านั้น บอกว่า ปรร ได้แก่มนุษย์เหล่าใดเหล่านั้น ผู้ประกอบสัลละธรรมนี้ บอกว่า วิสิกา ความว่า จักเป็นผู้นิยมตรัส เปิดยินดีสนุกทั้งหลาย ด้วยฝ่ามือ หรือด้วยวัตถุมิใช่จนเป็นต้น. บอกว่า มยเมตต คววามว่า ส่วนเราทั้งหลายจักเป็นผู้นิยมตรัสกัน ในเพราะเรื่องที่สัตว์เหล่าอื่นนั้นแหละเป็นผู้เบือนบอกกัน คือจักให้ ความไม่เบือนบิดเบือนอยู่. ข้อว่า อิติ สุลภโณ ครถิโต ความว่า ธรรมเครื่องขัดเกลา กล่าวคืออวิรเทสา อันเนื่องจากพึงทำ อย่างนี้ เพราะว่า อวิรสา พระผู้มีพระภาคตรัสว่าลัฏฉละ เพราะ วิคระหัว ธรรมใด ย่อมขัดเกลา คือย่อมตัด วิสิลาเสย. ในอากาศทั้งหมด ดังนี้. ด้วยนัยว่า อานุธีนิยม พระผู้มีพระภาคตรงแสดงว่า ก็กล่าวอะไรในการประกอบเนือง ๆ ด้วยกายและวาจา คือในการทำซึ่งธรรมเหล่านั้นด้วยกาย หรือการสั่งด้วยวาจา ว่า ‘ท่านทั้งหลายจงทำ’ หรือก็มีการเล่าเรียนและการสอบถามเป็นต้น เหมือนดิวดวงแก่ที่เกิดขึ้นนั่นนั่นแล. เพราะว่า การประกอบเนือง ๆ นั้น มีอุปกรณ์มากโดยส่วนเดียวแท้.' อ. สุลลบมนุญฐาดี ยุคลกร์.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More