ธรรมเทศนาเกี่ยวกับความสุขและทรัพย์สมบัติ มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 3 หน้า 232
หน้าที่ 232 / 265

สรุปเนื้อหา

พระศาสดาได้ตรัสเกี่ยวกับการใช้ทรัพย์สมบัติและการมีปัญญาในการดำเนินชีวิต โดยยกตัวอย่างนักลงที่มีความรอบคอบในการใช้และรักษาทรัพย์สิน ว่าความสุขนั้นตราบใดที่เขามีการใช้จ่ายอย่างมีสติและประมาณ บุคคลมีปัญญาย่อมหลีกเลี่ยงปัญหาที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต ความเมามายและการขาดสติอาจนำไปสู่ความทุกข์ในภายหลัง บุคคลที่สามารถรักษาทรัพย์สินได้อย่างดีย่อมเข้าถึงความสุขที่แท้จริง

หัวข้อประเด็น

-ความสุขและทรัพย์สมบัติ
-การใช้ปัญญาในการดำเนินชีวิต
-การมีสติในการใช้จ่าย
-คำสอนของพระพุทธเจ้า
-การหลีกเลี่ยงความเมามาย

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค ๔ - มังคลัตถทีปิโส เล่ม ๑ ก หน้า ๒๓๒ [๒๒๓] พระศาสดาตรัสรับรองดีนานนี้มาแล้ว เมื่อจะทรงแสดงธรรมแก่เศรษฐี ได้ทรงภาษาว่า ๓ คาถา ในภัททุมุขชาฏก ในปัญจวรรครเหติบอกว่า "นักลงนั้นได้หม้ออัฐุ ที่ใส่สมบัติสัตว์ พึงใครู่ทุกอย่างแล้ว ยังตามรักษาไว้ได้เพียงใด, เขาย่อมถึงสุขเพียงนั้น. เมื่อใดเขามา and เชื่อ แล้วทำกายมือเฎีย เพราะความงามา เมื่อบั้นเขา เป็นคนเถลเปลือย บางคราวนุ่งผ้าเก่า เป็นคนเข่า ย่อมเตือนร้อนในภายหลัง, บุคคล ได้นำทรัพย์แล้ว ย่อมใช้สอยด้วยความประมาณ, บุคคลนั้นมีปัญญา ตาม ย่อมเตือนร้อนในภายหลัง เหมือนนักลงทำลายหม้อแล้ว ย่อมเตือนร้อนใน ภายหลัง ฉะนั้น..." [๒๒๔] บรรดาบทเหล่านี้ ว่า สุพพบก์ ท์ คำว่า ซึ่งหม้ออันสามารถจะให้วัสดุกันปวง. บทว่า ภูมิ เป็นไวพจน์ ของหม้อ. บทว่า ยาว ได้แก่ ตลอดกาลมีประมาณเท่าใด. บทว่า อนุเปตติ คือ ย่อมรักษา. บทว่า มุตโต คือ เมาแล้ว ด้วย ความเมามายเพราะสุรา. บทว่า ทิติโต คือ เชอแล้ว เพราะเซะ. บาท
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More