มัชชะและการเว้นจากการดื่มน้ำเมา มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 3 หน้า 181
หน้าที่ 181 / 265

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาพูดถึงนิยามของน้ำเมาและมัชชะตามที่กล่าวในอรรถกถา โดยอธิบายถึงการที่สุราและเมรัยเป็นที่ตั้งแห่งความเมา และการสำรวมจากการดื่มน้ำเมาเป็นหลักการสำคัญในการฝึกปฏิบัติตามแนวทางศาสนา อรรถกถาได้กล่าวถึงเจตนาและผลที่เกิดจากการเว้นการดื่มน้ำเมา.

หัวข้อประเด็น

-ความหมายของมัชชะ
-การวิเคราะห์น้ำเมา
-การสำรวมจากการดื่มน้ำเมา
-ความสำคัญของเจตนา
-อรรถกถาเกี่ยวกับมัชชะ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค ๕๔ - มั่งคลัตถิอันเป็นแปล เล่ม ๓ - หน้าที่ 181 นั่นแห่ ชื่อว่าน้ำเมา เพราะอรรถกถาเป็นที่ตั้งแห่งความเมา, กิ่รอปะอะไร ๆ แม้อย่างอื่น อันเป็นที่ตั้งแห่งความเมา มีอยู่ ปนะนั้น ก็ชื่อว่ามัชชะ บุณคลเป็นผู้มันนมาแล้ว เพราะปนะได้นั้นเป็นคนดีแล้ว ปนะนี้ พระผู้พภาคตรสร็อหว่า มัชชะ." อรรถกถาอาจอญญาอญญปลายดาล ในมหาวรค สังขตณิกาย ว่า "สุราและเมรัยทั้ง ๒ อย่างนั้นนั่นแหละ ปรียอปะนั้นแม้อย่างอื่น ซึ่งพันจากสุราและน้ำดอง อันเป็นที่ตั้งแห่งความเมา ชื่อว่ามัชชะ." ก็ศึกษาอญญญปลายอญญานั้น ว่า "บทงว่า สุราสาวิมุตติ คือ พันจากสุราและเมรัยตามที่กล่าวแล้ว." [๑๐] เจตนาเป็นเหตุคือตี ว่า คือ เป็นที่ตั้งแห่งความประมาณ ชื่อว่าปนะ จริงอย่างนั้น พระอรรถกถายกว่่าไว้ในอรรถกถา- อามกถญญปลายวว่า "เจตนาเป็นเหตุคือตำนนั้น ขอบคุณทั้งหลาย ชื่อว่ามาทัฐฐนะ เพราะเป็นเหตุแห่งความประมาณ." อรรถกถา- ทุกทุกปะุ. และอิคลาสสูตร ก็เหมือนกันนั่น. การเว้น ชื่อว่า สยโม. เหตุนนั้นพระอรรถกถายังกล่าวไว้ ในอรรถกถาว่า "ชื่อว่าการสำรองจากการดื่มน้ำเมา ข้าพเจ้ากล่าว. คำว่า มัชชปนสัญญโม นี้ เป็นชื่อแห่งเจตนาคือแหล่งอาจถือย่อจากฐานะ เป็นที่ตั้งแห่งความประมาณ เพราะน้ำเมาคือสุราและเมรัย." การสำรวมจากการดื่มน้ำเมา อันข้าพเจ้ายืนยันกล่าว จบ.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More