ศิลและการดื่มสุรา มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 3 หน้า 186
หน้าที่ 186 / 265

สรุปเนื้อหา

บทนี้พูดถึงความสำคัญของศิลในการควบคุมการดื่มสุรา โดยที่ศิลอนาคหมายถึงการมีเจตนาที่ดี ไม่ดื่มสุรา การขาดศิลเกี่ยวกับการดื่มสุราอาจนำไปสู่ความผิดหวังและการขาดวินัยในการดำรงชีวิต นอกจากนี้ยังกล่าวถึงเรื่องราวในอรรถกถาเกี่ยวกับการดื่มสุราและการพัฒนาด้านจิตใจ โดยเชื่อว่าการเข้าใจศิลจะช่วยให้ปฏิบัติตนได้ถูกต้องและให้เกิดประโยชน์สูงสุดในชีวิต

หัวข้อประเด็น

-การดื่มสุราในพระพุทธศาสนา
-ความสัมพันธ์ระหว่างศิลและเจตนา
-การควบคุมตนเองด้วยศิล
-การอภิปรายเกี่ยวกับอรรถกถาเกี่ยวกับสุรา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค ๕ - มังคลิดาถกล่าวในบท ๓ หน้า ๑๘๖ การขาดศิล คือเจตนาเครื่องเวียนจากการดื่มสุราท่านั้น ย่อมมี ดูการขาดศิลในเพราะการทัศงระเบียบ (ดอกไม้) เป็นต้น." [๑๖๒] ก็หากจะพึงมีคำกล่าวว่า "ศิลคือเจตนาเครื่องวันจากการดื่มสุรา ย่อมาดา, เมื่อเช่นนั้น ศิลอนาคนี้ท่าไม่มาดาเล่า?" พิงแกว่า "กิจการดื่มสุรา พระอรรถถถาการกล่าวไว้ในอรรถถกว่า "เป็นวัตถุแห่งปราชัย" และศิลไร ๆ ย่อมไม่มีแก้สมาชิกผู้เป็นปราชัยเลย." แมไนวรรถกว่าทุกาปะรู้ ท่านก็กล่าวไว้ว่า ว่า "ถึงบรรดาสิขาบท ๕ ข้อนั้น สำหรับพวกสามณรุ เมื่อข้อหนึ่งขาดแล้ว สิขาบทที่เหลือทั้งหมด ก็เป็นอันขาดด้วย เพราะสิขาบท ๕ ข้อนั้นตั้งอยู่ในฐานปราชัย." เพราะฉะนั้น นันต์ ทิงวิจารณาว่า "สุราปนเวรมศิลเวลาก โ โหติ." [๑๗] ในอรรถก คำว่า "ไม่เป็นอาบัติ ในเพราะยาดองวิสัย ชื่ออิริยาบถ ซึ่งไม่เป็นน้ำเมา เล่ากัน มาว่า ขนทั้งหลายทำด้วยดองวิสัย ชื่ออิริยาบถ ด้วยสรณะงามป้อง เป็นต้นนั่นเอง ยาดองวิสัยชื่ออิริยาบถนั้น มีสีคล้ำและรสคล้ำน้ำ เมา แต่ไม่เป็นน้ำเมา (คือไม่เมา) ส่วนราใดที่เขาใส่เครื่องปรุง จัดเป็นเมา รสนี้ไม่ควร ตั้งแต่ฟัง." ฤทธาวิมารวันทนี้แห่งรัยปานสิกขาบทนั้น ว่า "บทว่า พิชโชติ คือ ตั้งแต่เวลาที่เขาใส่เป็นต้นตามที่กล่าวแล้วลงในชนะ เพื่อ ต้องการให้เป็นน้ำเมา." ๑. ป. โชย. ฉ. ข. ๒. สมุน. ๒/๔๕๐.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More