ข้อความต้นฉบับในหน้า
ข้อความที่ได้จากการ OCR มีดังนี้:
ประโยค ๑ มังคลัตถทีปิเนปะ เล่ม ๓ หน้าที่ ๒๕๙
ถ้าว่าด้วยความไม่ประมาท*
[๒๔๐] ธรรมอย่างหนึ่งเป็นข้าศึกแห่งความประมาท ชื่อว่า
ความไม่ประมาท นรรดความประมาทและความไม่ประมาททั้ง ๒
นั้น อาการคือความมืดมิด ชื่อว่า ความประมาท จริงอยู่
พระผู้พระภาคตรัสคำไว้ว่า "บรรดาความประมาทและความไม่
ประมาททั้ง ๒ นั้น ความประมาทเป็นในใจ? การปล่อย การส่งเสริม
การปล่อยดิบไปในกายทุจริตดี ในจิตทุจริตดี ในโมททุจริตดี ใน
เบญจอาการคุณ ดีชื่อ ความประมาท อีกอย่างหนึ่ง ความไม่มี
การทำโดยเกรพร ความไม่มีการทำโดยติดต่อ ความไม่มีการทำไม่
หยุด ความประพฤติด้อยหดอ่อน ความหมดความพอใจ ความทอครุะ
ความไม่ตั้งมั่น ความไม่ประกอบเนือง ๆ ไม่เศร้า ไม่เจริญ ไม่ทำ
ให้มาก ในการบำเพ็ญคุณธรรม ชื่อว่า ความประมาท ความประมาท
เล่นเอา มั่ว ๆ เห็นปานนั้น เรากล่าวว่า ความประมาท
บาปมูทกวัตถุวัจวิภาคฯ จบ.
[๒๔๑] อรรถกถาวิมรรคว่า "สองเทวา จิตฺตสูส"
โวสุกโฺ คือ ความไม่งาม (จิด) ด้วยสัตว์ แต่ส่งจิตไปใน
ฐานะมีประมาณเท่านี้แหละ อธิบายว่า "ความเว้นจากสติ" บทว่า
โวสุกโฺคุณูปบาเทน ได้แก่ การส่งเสริมซึ้งการปล่อย อธิบายว่า
"ความปล่อย (ิดไป) repeatedly ทำ, การไม่โดยเกรพร ด้วย
* พระมหา นิสรโลป ป. Ch. ๓ วัดบวรนิเวศวิหาร แปล.
๑. อภิ. วิญ. ๕๕/๕๒.๒ ๒. สม. วิ. ๒๖๒.