มังกีตตา: สภาและการนำเสนอในสังคม มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 3 หน้า 68
หน้าที่ 68 / 265

สรุปเนื้อหา

บทนี้อธิบายว่าวรรณกรรมมีการใช้คำที่เฉพาะเจาะจงในบริบทต่างๆ เช่น การอยู่ในสภา การรวมกลุ่ม และการอ้างอิงถึงการถามอย่างเป็นทางการ บทความยังกล่าวถึงบทบาทของผู้เป็นพยานและคำถามที่เกิดขึ้นในสังคม รวมถึงการศึกษาเค้าโครงพุทธศาสนาในความสัมพันธ์กับการทำงานในสังคม และการใช้วัตถุเล็กน้อยเพื่อแสดงถึงความตั้งใจในบริบทของความซื่อสัตย์และการทำลายอุปสรรคในสังคม.

หัวข้อประเด็น

-มังกีตตา
-ความหมายของคำในวรรณกรรม
-การรวมกลุ่มในสังคม
-การตั้งคำถามและการเป็นพยาน
-บทบาทของพระสงฆ์ในสังคม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค- มังกีตตาเป็นนี้แปล เล่ม ๓ หน้า ๖๘ สกฤตโต คือ อยู่ในสภา. บทว่า ปรีฤกตตา คือ อยู่ในหมู่ชาวบ้าน. บทว่า ฑามิตมชกตา คือ สถิติอยู่ในหมากลางบุคคลผู้รับมอบฤกตทั้งหลาย. บทว่า ปุกมชกตา คือ อยู่ในม่านกลางสนามทั้งหลาย. บทว่า ราชฤกตมชกตา คือ เข้าไปในท่ามกลางราชตกะฤกต ได้แก่ในท้องพระโรงใหญ่. บทว่า อนิฤกตโต คือ ถูกนำเข้าไปเพื่อจะถาม. สองบทว่า สกฤติ ปฏโถ คือ ผู้อ้นเขาอ้างให้เป็นพยานแล้วถามว่า กล่าวในพระสงฆ์นั่นเป็นอาละหรือ ข้อว่า อุดตทตตา วา ปฏโถ ว่า เพ่งว่า เพราะเหตุแห่งอุธิและเท่าเป็นต้น หรืเพราะเหตุแห่งทรัพย์ ของคนหรือของบุคคลอื่น. ลาภพระผู้พิภาคภกรรพระประสงค์ว่า อามิสในบทว่า อามิสกิฏจิณฺณเหตุ วา นี้, บทว่า กิฏจิณฺณ คือวัตถุพอดีพอใจ ได้แก่วัตถุเล็กน้อย. อธิบายว่า เพราะเหตุแห่งสินบน โดยที่สุดแม้วัสดุเล็กน้อยมีมูกระทา นขุมน (นกกระจาบ) เฉยใส่ตัวหนึ่งและเนยข้นก้อนหนึ่งเป็นต้น. บทว่า สมุปสนฺนสุภาณิทิตา คือ เป็นผู้ยกขุรทำการกว่าทีก. สองบทว่า อิมัส ภทาย คือ ตนฟังคำในสำนักของขนเหล่าใด ที่พระผู้พระภาคตรัสว่า 'อิโต' เพื่อจะทำลายชนเหล่านั้น.สองบทว่า อุมัส ภทาย คือ เพื่อจะทำลายหมู่ชนที่พระผู้พระภาคตรัสว่า 'อุมุร' ซึ่งเป็นผู้มีเรื่องที่คนฟังคำในสำนัก(ของเขา)." [๔๕] อรรถกถาดูพัทธิบาโภปมสูตรเป็นต้นว่า "หลายบทว่า ภิณฺนาวา สนฺธนา ความว่า เมื่อชนะ ๒ ฝ่ายผู้เป็นมิตรกัน หรือเป็น ๔. ป. สุ ๒๒๔๕
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More