กฎว่าด้วยธรรมอันหาโทษมิได้ มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 3 หน้า 122
หน้าที่ 122 / 265

สรุปเนื้อหา

กฎว่าด้วยธรรมอันหาโทษมิได้กล่าวถึงการทำความบวนขาย การปลูกสร้างเมาะไม้ในอาราม และการสร้างสะพาน รวมถึงอุโบสถธรรมที่มีสองอย่างซึ่งมีความสำคัญในการปฏิบัติในพระพุทธศาสนา โดยอธิบายโครงสร้างและการปฏิบัติของอุโบสถตามหลักการของพระอรรถกถา ว่าด้วยการเปิดเผยความสำคัญของอุโบสถในช่วงเวลาต่างๆ

หัวข้อประเด็น

-ธรรมอันหาโทษมิได้
-อุโบสถธรรม
-พระอรรถกถา
-มงคลสูตร
-การปฏิบัติในศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

กฎว่าด้วยธรรมอันหาโทษมิได้* [๑๐๐] พระอรรถกาถาจารย์กล่าวไว้ในอรรถกถาแห่งมงคลสูตร นี้ว่า "ธรรมมีการสมานองค์อุดมสมบูรณ์" การทำความบวนขาย การปลูกสร้างเมาะไม้ในอารามและการสร้างสะพานเป็นต้น ซึ่งว่า "ธรรมอันหามิได้" [อุโบสถธรรม ๒ อย่าง] บรรดาธรรมเหล่านั้น อุโบสถธรรมมี ๒ อย่าง ด้วยอำนาจ ปกติอุโบสถและปฏิฆารอุโบสถ สมเด็จามนี้ พระอรรถกาถา- ยกว่าว่าในอรรถกถาราชสูตร ในปฐมปดาลาสก์ แห่งถิกนิมมาน องค์ดตรนิยว่า "สองบาว่า อุโบสถ อุปสมถี" ความว่า ชั้นทั้งหลาย ย่อมอธิบายองค์อุโบสถดิวะ ๘ ครั้ง ฯ เมื่อว่า ปฏิฆารโณติ ความว่า ย่อมกระทำอุโบสถธรรมนี้ ย่อมทำด้วยอำนาจการ รับและการส่ง วันอุโบสถ ๔ วัน ในกึ่งเดือน (คือปีกษ) หนึ่ง เมื่อ รับอุโบสถในศีกที่ ๕ ย่อมเป็นผู้ทราบอุโบสถในศีกที่ ๕ เมื่อรับอุโบสถในศีกที่ ๖ เมื่อลงอุโบสถในศีกที่ ๖ ย่อมเป็น ผู้ทราบอุโบสถในศีกที่ ๗ เมื่อชึ้ง ย่อมเป็นผู้ทราบอุโบสถในศีกที่ ๘ เมื่อลงอุโบสถในศีกที่ ๘ ย่อมเป็นผู้ทราบอุโบสถในศีกที่ ๑๓ เมื่อลงส่งอุโบสถในศีกที่ ๑๕ ย่อมเป็นผู้ทราบอุโบสถในวันแรก ๑ ค่ำ ดังนี้ *พระมหานาค อุปโนโก้ ป. ธ. ๕. วัดมณีวาส เเปล ๑. ปรมฤทูโฆฏกา ทุกทุกปาฏิวนา ๑๕๖. ๒. มโน. ปู ๒/๑๕๓
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More