ความหมายของการทานที่ดีในพระพุทธศาสนา มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 3 หน้า 24
หน้าที่ 24 / 265

สรุปเนื้อหา

บทความนี้วิเคราะห์มุมมองจากพระไตรปิฎกว่า การให้ทานที่ดีย่อมได้รับการยกย่องและสร้างผลดีทั้งต่อผู้ให้และผู้รับ พระพุทธเจ้าได้แสดงถึงความสำคัญของการทานในสายตาของสังคม และเหตุผลว่าทำไมการให้ทานถึงเป็นที่รักและชอบใจของชุมชน การให้ทานที่ดีไม่เพียงแต่ส่งผลต่อชื่อเสียงและความสัมพันธ์ของผู้ให้ ยังสร้างความสงบสุขในสังคมและส่งเสริมความเมตตาและการช่วยเหลือแก่กัน การศึกษานี้จะช่วยสร้างความเข้าใจที่ลึกซึ้งเกี่ยวกับผลกระทบเชิงบวกของการทานที่ดีในชีวิตประจำวันและวิธีการที่จะเป็นผู้ให้ที่มีคุณภาพ

หัวข้อประเด็น

-ความสำคัญของการให้ทาน
-ผลกระทบของการให้ทานต่อสังคม
-การให้ทานในพระพุทธศาสนา
-ชื่อเสียงและความสัมพันธ์ของผู้ให้

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - มังคลัตถทีนี้แปล เล่ม ๓ หน้าที่ ๒๔ ถึงคำชักถามว่า "ถ้าท่านให้แม่ในสมเด็จผู้ทูลสิทธิ์นี้มินต์เจาะจงกลางมัง ยังมีผลมากกว่าท่านที่ให้ในพระฉินาสพ เมื่อเป็นเช่นนี้ คำว่า 'มหาปิศา ทานที่ให้แก่ผู้มีสิทธิ์แล้ว มีผลมาก ที่ให้แก่ผู้มีสิทธิ์ หามีผล มากอย่างนั้นไม่' นี้ดูจะไร้ออยู่? ดังนี้แล้วจึงกล่าวว่า 'ค่านี้พระผู้ มีพระภาคตรัสสละนั้นนี้.'" [๒๒] ท่านนั้นชื่อว่าเป็นมงคล เพราะเป็นเหตุบรรลุผลพิเศษ อันเป็นไปในภุฏฐธรรมและสัมปราณี มีความเป็นผู้มีที่รักแห่งชน มากเป็นต้น ด้วยเหตุนี้ พระผู้ภาคเมื่อจะทรงแสดงธรรม แก่เสนาบดีชื่อสีห์ จึงตรัสไว้ในปัญจกนิมนต์ว่า "สีห์ ทายกาทานดี ย่อมเป็นที่รักที่ชอบใจของชนมาก สีห์ ข้อที่ทายกาทานดี เป็นที่รักเป็นที่ชอบใจของชนมาก แม้นี้ เป็นผล แห่งทานที่เห็นได้เอง. สีห์ ข้ออื่นยังมีอีก สัตบูรทั้งหลายผู้สง ระงับ ยอมคนทายกาทานดี สีห์ ข้อที่สัตบูรทั้งหลายผู้สง ระงับคนทายกาทานดี แม้นี้ เป็นผลแห่งทานที่เห็นได้เอง สีห์ ข้อ อันยังยังอีก ชื่อเสียงอันงามของทายกาทานดี ย่อมชูไป สีห์ ข้อ ที่ชื่อเสียงอันงามของทายกาทานดีจริงใจไป แม้นี้ เป็นผลแห่งทาน ที่เห็นได้เอง สีห์ ข้ออื่นยังมีอีก ทายกาทานดีจะเข้าไปยังบริษัท อื่นใด กุศรียชื่อกามา พราหมณ์กามา คฤหบดี กูฎมะกิยะมา สมณะกิยะมา เป็นผู้แก้วกล้าล้มเง็น เข้าไปยังบริษัทนั้น, สีห์ ข้อที่เทา
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More