ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโคนฺ - มังคลดฺกถาลี้นีแปล เล่ม ๗ หน้า ๔๗
นี้ จำแนกกรรมบุตรทั้งเป็นกุศลและอุตฺตสาว่า 'ธรรมเหล่านี้เป็นกุศล'
ธรรมเหล่านี้มีโทษ ธรรมเหล่านี้ไม่มีโทษ
เหล่านี้วิเศษชนิดเดียว นเหล่านี้วิเศษชนสรสรุน เหล่านี้บุคคล
สมาทานให้บริจาคแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อมิประโยชน์ เพื่อทุกข์
เหล่านี้ย่อมเป็นไปเพื่อประโยชน์ เพื่อสุข ดังนี้ ทำกรรมและวิบาก
แห่งกรรมให้ปรากฏ ราวะแสดงโลกนี้และโลกหน้าโดยประจักษ์
ยังผู้สั่งดับให้กลับ (ใจ) จากกุศลกรรมทั้งหลาย ให้ดำรงอยู่ในกุศล-
ธรรมทั้งหลาย แสดงธรรม นี้อ้างธรรมทาน แต่ธรรมกถิใด
ประกาศจงจะท้งหลายว่า 'ธรรมเหล่านี้ถึงจึง่แง เล่านี้ถึงกำหนดรู้
เหล่านี้พึงอธิษฐาน เหล่านี้พึงทำให้แจ้ง เหล่านี้พึงเจริญ' ดังนี้ แสดง
ปฏิปทธรรม เพื่อบรรลุตตะ นี้ชื่อธรรมทานที่ถึงความเป็นยอด
บทว่า เอกคุค คำบ็น เอก อกุค ดังว่า ยักกิ
บรรดาทานทั้ง ๒ นี้ ธรรมทานที่พระธรรมกถติ้นแลแสดง นั่นเป็นยอด
คือประเสริฐ ได้แก่สูงสุด จริงอยู่ บุคลอาศัยธรรมทานอันเป็น
วิภาวคามี (มีปกติทำสัตว์ดุจถึงวิภาวะ) ย่อมพ้นจากความเจ็บไข้
ทั้งปวง ย่อมล่วงวิญญทุททั้งสิ้น ธรรมมาทที่เป็นโลกะ เป็นเหตุ
แห่งทานทั้งปวง เป็นมูลแห่งทรัพย์สมบัติทุกอย่าง เมื่อภัยกานต์ึง
เห็นว่า พระผู้พระภาคทรงแสดงด้วยธรรมทาน ในทานทั้ง ๒ นี้
เหมือนกัน."
ในอรรถกถามคฤปตอนนี้ ท่านกล่าวว่า "ที่การแสดงธรรมที่
พระสมามสัมพุทธเจ้าประกาศแล้ว อันเป็นเหตุทุกข์และนำสุขมา