ความหมายของวิรติและอารมณ์ทางศีลธรรม มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 3 หน้า 188
หน้าที่ 188 / 265

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้กล่าวถึงความสำคัญของวิรติและการเว้นจากบาปธรรมในด้านศีลธรรม โดยการเสริมสร้างค่านิยมในชีวิตให้เป็นไปตามอารมณ์ที่ถูกต้อง และเน้นถึงการสมาทานวิรติในสิกาขาบทต่างๆ ที่สำคัญในชีวิต. ข้อมูลในอรรถกถาวุฒุนสูตรและคำแนะนำจากอาจารย์ผู้แทกจะช่วยให้ผู้อ่านทำความเข้าใจถึงวิธีการฝึกฝนและการเข้าสู่คุณธรรมจรรยา.

หัวข้อประเด็น

-ความหมายของวิรติ
-ความสำคัญของอารมณ์ทางศีลธรรม
-การเว้นจากบาปธรรม
-อรรถกถาวุฒุนสูตร
-การสมาทานวิรติ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยคสั้น - มังคลัตถีที่มีแปลง เล่ม ๓ หน้า 188 ทั้งหลายมีปานดำบาตเป็นต้นนั้นแหละ เป็นอารามแห่งคุณธรรมจรรยา เหล่านี้เหมือนกัน เพราะว่าการเว้น จากวัตถุที่จะ พิงก้าวล่วงนั้นแหละ เป็นกิริยา ชื่อว่ามรรยดี." อรรถกถาวุฒุนสูตร ว่า "บรรดาวีรติ ๓ อย่างนั้น วิรติ ๒ อย่างข้างต้น ทำวัดภูมิชีวิตมุมรัยเป็นต้น ที่ตนจะพิงก้าวล่วงด้วย สามารถแห่งกิริยา มีการปลง (ชีวิต) เป็นต้น ให้เป็นอารมณ์เป็นไป. วิรติข้อหลัง (สมุนไพรวิรติ) พระน่ะนั่งพานเป็นอารมณ์อย่างเดียว." [๑๙๔] สมาทานวิรติแม้ในสิกาขาบททั้งหมด ย่อมควรในเวลา ที่วันจากวัตถุนามถึงเข้า ในภายหลังแต่นะที่ธิสิกาขบท่านั้น ไม่. เพราะในขณะนั้น สมาทานวิรติ มีอุกคุตที่ตนจะพึ่งวันเป็นอารมณ์อย่างเดียว เพราะเหตุนันนั้นแสใน อรรถกถาขุททกพลญู ท่านจิกล่าวว่า "อาจารย์ผู้แทกกล่าวในคำว่า วิรติ นี่ ว่า "บุคคลเมื่อเว้นจากอุตุสธรรมทั้งหลาย มีปาน- ติมาดเป็นต้น ชื่ออำอเว้นจากบาปธรรมอะไร ? ข้าพเจ้าเอ่ยเฉลย. บุคคลเมื่อวันด้วยสามารถสมาทานวิรติ ชื่อว่าเว้นจากอุตุสมีปาน- ติมาดเป็นต้น ของตนหรือของคนเหล่าที่อื่นึนก่อน. ประมาณอะไร ? คนเว้นจากอุตุใด ปรารถอุตุสนั้นแหละ. เมื่อจะเว้นแม้วาสามารถ สัมปทวิรติ ก็ชื่อว่าเว้นจากอุตุสมาประการดังกล่าวแล้วเหมือนกัน. ประมาณอะไร ? ปรารถอรมณ์แห่งปาณาติบาตเป็นต้นที่กล่าวแล้วนั่นแหละ."
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More