การวิเคราะห์ความเชื่อในอรรถกถา มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 3 หน้า 76
หน้าที่ 76 / 265

สรุปเนื้อหา

ในอรรถกถาสัลลักษณ์เสนอแนวคิดเกี่ยวกับความเชื่อและผลของกรรมที่ผู้คนมีให้ โดยกล่าวถึงบุคคลที่มีความเห็นและผลของกิจกรรมต่างๆ ที่ทำขึ้น อรรถกถาตีความถึงความสำคัญและผลที่เกิดจากการกระทำเหล่านั้น ว่าด้วยมิจฉาทิฏฐิที่อาจส่งผลให้ไม่เห็นถึงความจริงของผลกรรม บ่งบอกถึงการนำเสนอภาพรวมของการทำความเข้าใจในกรรมและผลของการปฏิบัติ

หัวข้อประเด็น

-การวิเคราะห์ความคิดเห็น
-ความเชื่อและกรรม
-มิจฉาทิฏฐิในอรรถกถา
-ผลของการกระทำ
-เหตุผลในความเชื่อแนวพุทธ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

คำว่า สุขี อุตตาน ปริทานนฺ." [๒๖] นัยอันมาแล้วในอรรถกถาสัลลักษณ์ว่า "ความคิดเห็น คือมาม อันวิญญาณสนสนธิแล้วองค์บุคคลนั้นมีอยู่ เหตุนันบูค นนั้น ชื่อว่า สมาทิจิกิ (ผู้มีความคิดเห็น) มือธิบว่า บุคคล ผู้เป็นสมาทิจิกินั้น เป็นผู้ประกอบด้วยฤทธิ์อันเป็นกิยาชี่นเป็นกมมัสกฏญฺญาณ มีเห็นว่า ท่านที่บุคคลให้แล้วมผล เป็นดัง อนันบเนื่องในกรรมบฺญ." อรรถกถาสายยกสูตรฯ และอรรถกถัติปนเถาะใน ติคณิบาด อังคุตตรนิกายว่า "บุคคลผู้มีจากฤทธิ์" หมายเอา ผลของทานไม่มี ดังกล่าวว่า นฤติ ทินนฺ ดังนี้ มหายัญ พระผูม พระภาคตรัสว่า ยิญฺญู สักกะระที่บุคคลพึงทำเพื่อแจก ทรงประสงค์ เอาในบทว่า หุท มิจฉาทิฏฐิบุคคล หมายเอา ยิญฺญู และ หุทิ ทั้ง ๒ นั้นว่า ไม่มีผลาเดเด ดังนั้น. มาม สุตฺทฤกฎฯน ความว่า แห่งกรรมที่บุคคลทำแล้วทำซ้ำทั้งหลาย คือแห่งคุณอุตต๕ กรรมทั้งหลาย. มิจฉาทิฏฐิบุคคลกล่าวว่า "ธรรมชาตทีเรียกว่าผล หรือวิบาก ย่อมไม่มีดังนี้ ด้วยว่าผลิปลิโกล." คว้า นฤติ อยล์ โโลโก มีความว่า โลกนี้ของบุคคลที่อยู่ในปฐพี ย่อมไม่มี. คำว่า นฤติ ปริโลโก มีความว่ า โลกนี้ของบุคคลผู้อยู่ใน โลกนี้ ย่อมไม่มี มิจฉาทิฏฐิบุคคลกล่าวว่า "สัตว์ทั้งหมด ย่อมขาดสุขในภพต่าง ๆ เอง มิจฉาทิฏฐิบุคคลกล่าวว่า 'นฤติ มตา นฤติ ปิฏฺ' ดังนี้ ด้วยสามารถแห่งความไม่มีผลของการปฏิบัติ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More