วิสุทธิมรรคแปล ภาค ๒ ตอน ๒ - หน้าที่ 40 วิสุทธิมรรค ภาค 2 ตอน 2 หน้า 40
หน้าที่ 40 / 244

สรุปเนื้อหา

ในข้อความนี้กล่าวถึงความสัมพันธ์ระหว่างเรา วักกะ และพังผืดที่หุ้มอยู่ในร่างกาย โดยไม่มีความคิดที่ชัดเจนระหว่างสิ่งเหล่านี้ ม้ามถูกอธิบายว่าเป็นส่วนหนึ่งที่สำคัญในร่างกาย โดยที่ไม่มีการตระหนักถึงการเชื่อมโยงระหว่างกัน ทั้งนี้ มีการเปรียบเทียบว่าเหมือนกับเนื้อที่ถูกห่อด้วยผ้าขี้ริ้ว ซึ่งไม่สามารถรู้ได้ว่าอยู่ภายในกัน การเปรียบเทียบนี้เน้นถึงความว่างเปล่าของการดำรงอยู่ที่ไม่มีความคิดและอัตตา จากการสำรวจข้างในเกี่ยวกับธรรมชาติของสิ่งต่างๆ ที่ไม่สามารถมองเห็นหรือรับรู้ได้ในร่างกายนี้.

หัวข้อประเด็น

-ความสัมพันธ์ระหว่างร่างกายกับจิตใจ
-อิทธิพลของพังผืดและม้าม
-การรับรู้ในระบบสรีรวิทยา
-ธรรมชาติของสิ่งไม่มีชีวิตในร่างกาย

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค๘ - วิสุทธิมรรคแปล ภาค ๒ ตอน ๒ - หน้าที่ 40 เรา และวักกะอยู่ พังผืดชนิดเปิดเผย หุ้มยึด (กล้าม) เนื้ออยู่ใต้หนังทั่วสรีระ ในวักกะ หทัย และเนื้อ (กล้าม) ทั่วสรีระกับพังผืดนั้น วักกะ หทัย และเนื้อ (กล้าม) ทั่วสรีระหารู้ไม่ว่า เราถูกพังผืดปิด (หุ้ม) พังผืด เล่าก็หารู้ไม่ว่า วักกะ หทัย และเนื้อ (กล้าม) ทั่วสรีระถูกเราปิด (หุ้ม) เปรียบเหมือนใน (ชิ้น) เนื้อที่เขาห่อไว้ด้วยผ้าขี้ริ้ว เนื้อหารู้ไม่ว่า เ ถูกห่อไว้ด้วยผ้าขี้ริ้ว ผ้าขี้ริ้วเล่าก็หารู้ไม่ว่า เนื้อน่ะเขาห่อไว้ด้วยเรา ฉะนั้น ธรรม (คือสิ่ง) ทั้งหลายนั่น ปราศจากความคิดคำนึงและไตร่ ตรองถึงกันและกัน อันพังผืดเป็นโกฏฐาสแผนกหนึ่งในร่างกายนี้ ไม่มี ความคิด เป็นอัพยากฤต ว่างเปล่า (จากอัตตา) หาสัตว์ (คือ วิญญาณ) มิได้ เป็นของแข้นแข็ง เป็นปฐวีธาตุ ด้วยประการฉะนี้ " บีหก์ - ม้าม (โบราณว่า ไต) ว่า " ม้าม อยู่ติดด้านบนแห่งเพดานท้องข้างซ้ายของหัวใจ” ใน ด้านบนแห่งเพดานท้องกับม้านนั้น ด้านบนแห่งเพดานท้องหารู้ไม่ว่า ม้านติดเราอยู่ บ้านเล่าก็หารู้ไม่ว่า เราติดด้านบนแห่งเพดานท้องอยู่ เปรียบเหมือนในก้อนโคมัยที่ติดด้านบนแห่งยุ้งข้าวอยู่ ด้านบทแห่งยุ่ง ข้าวหารู้ไม่ว่า ก้อนโคมัยติดเราอยู่ ก้อนโคมัยเล่าก็หารู้ไม่ว่า เราติด ด้านบนแห่งยุ้งข้าว ฉะนั้น ธรรม (คือสิ่ง) ทั้งหลายนั่น ปราศจาก ความคิดคำนึงและไตร่ตรองถึงกันและกัน อันม้าม (นั่น) เป็นโกฏฐาส แผนกหนึ่งในร่างกายนี้ ไม่มีความคิด เป็นอัพยากฤต ว่างเปล่า (จาก * สรีรวิทยาว่า อยู่ข้างซ้ายกระเพาะอาหาร
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More