การเรียนรู้พระไตรปิฎกในวิสุทธิมรรค วิสุทธิมรรค ภาค 2 ตอน 2 หน้า 114
หน้าที่ 114 / 244

สรุปเนื้อหา

บทนี้เสนอความหมายและการศึกษาเกี่ยวกับฤทธิในพระไตรปิฎก โดยอธิบายการใช้จิตและการมุ่งไปสู่ฤทธิที่ต้องการ รวมถึงการฝึกจิตเพื่อให้เกิดอภิญญาและอิทธิ ชี้ให้เห็นถึงความสำคัญของการเตรียมจิตให้พร้อมสำหรับการบรรลุความสำเร็จในด้านต่าง ๆ ของการปฏิบัติทางจิตและการฝึกฝน รวมถึงวิธีการที่สามารถใช้ในการเรียนรู้และพัฒนาจิตในการเข้าถึงฤทธิชนิดต่าง ๆ โดยเนื้อหาได้เรียบเรียงจากบทต่าง ๆ ของวิสุทธิมรรคเพื่อให้เข้าใจง่ายที่สุด.

หัวข้อประเด็น

-การศึกษาพระไตรปิฎก
-ฤทธิและการฝึกจิต
-การเตรียมจิตสำหรับอภิญญา
-การบรรลุฤทธิชนิดต่าง ๆ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

- ประโยค๘ - วิสุทธิมรรคแปล ภาค ๒ ตอน ๒ - หน้าที่ 114 การเรียนพระไตรปิฎก โดยที่สุดจนชั้นการกสิกรรมมีการไถหว่านเป็น อาทิ ชื่อว่า ตตฺถ ตตฺถ สมฺมาปโยคปจุจนา อิชฌนฏฺเฐน อิทธิ - ฤทธิโดยความหมายว่าสำเร็จ เพราะประกอบชอบในกิจนั้น ๆ เป็น ปัจจัย" [ฤทธิที่ท่านประสงค์เอาในบาลี] ในอิทธิ ๑๐ ดังว่ามานี้ อธิฏฺฐานาอิทฺธิ เท่านั้นมาใน (บาลี) บท ว่า อิทธิวิธาย นี้ แต่ว่าในอรรถนี้จำต้องปรารถนา วิกุพฺพนาอิทธิ และ มโนมยาอิทฺธิ (ประกอบ) ด้วยแท้ [แก้อรรถบทบาลี] บทว่า "อิทฺธวิธาย - เพื่อฤทธิชนิดหนึ่ง " นั้นคือ เพื่อส่วนหนึ่ง แห่งฤทธิ์ หรือเพื่อวิกัป (อย่าง) หนึ่งแห่งฤทธิ คำว่า "นำจิตมุ่งไป" ความว่า ภิกษุนั้น เมื่อจิตนั้นคือฌานอันเป็นบาทแห่งอภิญญาเกิดแล้ว ด้วยอำนาจแห่งการฝึกจิตมีประการดังกล่าวแล้ว นำบริกรรมจิตมุ่งไป เพื่อประโยชน์แก่การได้ฤทธิชนิดหนึ่ง คือพราก (จิต) จากอารมณ์กสิณ เสียแล้วส่ง (จิตนั้น) ให้มุ่งหน้าต่อชนิดแห่งฤทธิ์ บทว่า "น้อม (จิต มุ่งไป" คือทำ (จิต) ให้โน้มไปสู่ฤทธิที่จะพึงบรรลุ” ให้เอียงไปหาฤทธิ สัมพันธ์ห่างไปนั่นเอง ท่านเลยแก้ สิปปกมุม เป็นการคำนวณ และการดนตรีเป็นต้นไป เมื่อเป็นเช่นนั้น การสามารถจัดพยุหะ ก็เก้อ ด. ตรงนี้ ปาฐะในฉบับวิสุทธิมมรรค ลิขิตไว้ทั้ง อภินีหรติ ทั้ง อภินินนาเมติ เข้าใจว่า บทหลังนี้เกิน เพราะมีแยกแก้เป็นบทหนึ่งต่างหาก ในที่นี้ได้แปลตามที่เข้าใจนี้ ๒. ปาฐะลิขิตไว้เป็น อธิคนฺตพฺพ์ อิทธิโปณ์... แปลยาก เข้าใจว่าจะเป็น อธิคนฺตพฺพ อิทธิ... ดังแปลไว้นั้น
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More