วิภัชธรรมแปล ภาค ๓ (ตอนจบ) วิสุทธิมรรค ภาค 3 ตอน 2 หน้า 5
หน้าที่ 5 / 329

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาในวิภัชธรรมแปล ภาค ๓ (ตอนจบ) เกี่ยวกับการรวมอรูปธรรมและโลกียิตที่เกี่ยวข้องกับพระโโยวาร โดยพูดถึงการกำหนดนามบูชาและโลกุตตรจิต โดยมีการแสดงว่าโลกียิตทั้งหลาย ได้แก่ความรู้และการมีสติ และการทำให้ใจหยุดนิ่งในสมาธิ นอกจากนี้ยังมีการอธิบายเกี่ยวกับการกำหนดนามบูชาทางธาตุ ๑๘ ซึ่งเกี่ยวข้องกับภิกขุในพระศาสนา โดยมีการอธิบายขั้นตอนที่จะถึงธาตุทั้งหลายไปด้วย

หัวข้อประเด็น

-อรูปธรรม
-พระโโยวาร
-โลกียิต
-สมาธิ
-นามบูชา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - วิภัชธรรมแปล ภาค ๓ (ตอนจบ) - หน้าที่ ๕ พระโโยควารั้น รวมรูปทั้งปวงนั้นเข้ากันโดยลักษณะ คือ ความสวย ก็เห็นว่า "นั่นเป็นรูป" อรูปธรรมทั้งหลายย่อมปรากฏ โดยเป็นทาง แก่พระโโยวาร นั้นแหละผู้ก้านคำรูปได้แล้ว อนุธรรมนี้ได้อะไรบ้าง ได้แก่ โลกียิต ๘ คือปัญญาญาณ ๑๐ โมโนจ ๑ โมโนญาณ ธาตุ ๒๖ อันหนึ่ง (ว่า) โดยไม่แปลกกัน (คือเป็นสาระนะ) ได้แก่ เตสิก ๓ นี่ คือ ผู้สละ เวทนา สัญญา เตนา ชีวิต จิตตวิณู (ความ หยุดแห่งจิต คือสมาธิอย่างอ่อน) มนิสิกา อันเกิดร่วมบิดเหล็นั่น และ ส่วนโลกุตตรจิตทั้งหลายจะถึงซึ่งความมักนดจับเอาได้ แก่พระ โภคาวารสุขวิปัสสน (ผู้บริจิวิปสนล้วน) ก็หาได้ แก่พระโโยวาร สมอถานิกะก็ทำได้ เพราะยังไม่ได้บรรลุ พระโโยวารนั้น รวมอรูปธรรมทั้งปวงนั้นเข้าด้วยกันโดยลักษณะ คือความน้อมไปได้ ก็เห็นว่า "นั่นเป็นนาม" พระโโยวารผู้หนึ่ง กำหนดนามบูชอย่ำพิสาคตรโดยมงคลธาตุ- วัณฐาน ดังพรรณนาวะนี้ [กำหนดนามรูปทางธาตุ ๑๘] พระโโยวารอีกผู้หนึ่งกำหนนามบูชา ทางธาตุ ๑๘ กำหนดอย่างไร คือ ภิกขุในพระศาสนานี้อาวุธนาการถึงธาตุทั้งหลายว่า "มีอยู่ใน * มืออายในวุฒิสมัรรแปล ขันธนเทพ กภ ค ตอน ๑ หน้า ๑๖
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More