วิภัชธรรม: การศึกษาธาตุและวิญญาณ วิสุทธิมรรค ภาค 3 ตอน 2 หน้า 7
หน้าที่ 7 / 329

สรุปเนื้อหา

ในตอนจบของวิภัชธรรม แสดงถึงการพิจารณาธาตุ ๑๘ ที่ประกอบด้วยวิญญาณธาตุและจิตโนธาตุต่าง ๆ โดยแบ่งแยกตามลักษณะของกายและนาม รวมถึงการใช้ปรัชญาในการวิเคราะห์เหตุและผล เพื่อเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างธาตุกับวิญญาณ ซึ่งนำไปสู่ความเข้าใจที่ลึกซึ้งเกี่ยวกับธรรมชาติของชีวิตและโลก ทั้งนี้ สามารถศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับหลักการต่าง ๆ ได้ที่ dmc.tv

หัวข้อประเด็น

-การศึกษาเกี่ยวกับธาตุ
-ธรรมธาตุและวิญญาณ
-ความสัมพันธ์ระหว่างธาตุกับชีวิต
-อายตนะและการวิเคราะห์

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค ~ วิภัชธรรรมแปล ภาค 3 (ตอนจบ) - หน้าที่ 7 จิรพิพัฒนา เป็นธาตุ ๑๐ รูปที่เหลือ นับเป็นธรรมธาตุอย่างเดียว ส่วน หัวใจวิญญาณบูรณะว่า "จิตอาศัยอุจจาระรูปเป็นไป ชื่อว่าจักบูญ วิญญาณธาตุ" ดังนี้เป็นต้น เป็นวิญญาณธาตุ ๕ จิตโนธาตุ ๓ ดวง เป็นมนโธธาตุ ๑ จิตโนวิญญาณธาตุ ๖ ดวง เป็นมนวิญญาณธาตุ ๑ (รวมเป็นธาตุ ๑๘) กำหนดว่า "โลกียจิตทั้งสิ้น ๑๘ ดวง วิญญาณธาตุ ๓ ธรรม ทั้งหลายมีผสมสันดิ์เป็นต้นที่สัมปฤกษ์กับวิญญาณธาตุนี้ ก็เป็นธรรมธาตุ" ในธาตุ ๘ นี้ ๑๐ ธาตุ ๗ ถึง ๓ ถึง เป็นรูป ธาตุ ๗ ถึง เป็นนาม ดังนี้แล พระโอโศวารูปหนึ่ง กำหนดนามรูปทางธาตุ ๑๘ โดยนับดังกล่าว มาจะนี้ [กำหนดนามรูปตามอายตนะ ๑๓] พระโอโศวารอีกผู้หนึ่ง กำหนดนามรูปตามอายตนะ ๑๒ กำหนด อย่างไร กำหนดแต่จักประสาท เว้นรูป ๕ ตามนัยที่กล่าวใน (ตอน) จักฐานเสียง ว่าเป็นจักขายตนะ และกำหนดโสดาธาตุ มนธาตุ ชิวหา- ธาตุ กายธาตุ ตามนัยที่กล่าวใน (ตอน) จักฐานดังนี้เหมือนกันว่า เป็นโสดตนะ มนายตนะ ชิวหายตนะ กายยตนะ กำหนดธรรม ๕ อันเป็นวิสัยแห่งอายตนะ ๕ นั้น ว่าเป็นรูปายตนะ สักทายตนะ คันธายตนะ รสตะตนะ โมฬจิพายตนะ กำหนดโลภิจิต และ * มหาภิกว่า หมายเอานิ้มรูป 6
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More