ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - วิถีธรรมวิเคราะห์ ภาค ๓ ตอน ๒ (ตอนจบ) หน้า 263
ข้อว่า "อนูปสมาน" ได้แก่ความที่เห็นความแตกดับแห่งสังขาร ทั้งหลาย โดยพิจารณาเห็นและโดย (นิ่งเห็น) ตามอย่าง (อารมณ์ที่ แตกดับแล้ว) น้อมใจลงไปในธรณีอารมณ์ความแตกดับนั้นเอง ที่กล่าว ไว้ (เป็นคำกวนน) ดังนี้ว่า
การพิจารณาที่กำหนดอารมณ์ทั้ง ๒ ส่วน (คือทั้งที่ เห็นแล้วทั้งที่ได้เห็น เพราะเป็นอดีตอนาคต) ว่า มีลักษณะเป็นอันเดียวกัน ตามอย่างอารมณ์ (ปัจจุบัน ที่พิจารณาเห็น) คือความที่นึกน้อมลงไปในธรณี (คือความดับ) นั่นแหละ ชื่อว่า วอยักษณวิปัสนา (เห็นแจ้งในลักษณะเสอม)
การละความพอกพูนเอาไว้ ย่อมมีได้ด้วยอารมณ์นั้น ด้วยเมื่อพระ โอกาสรอแจ้งอยู่ว่า ส่งจรเหล่านั้นก็มีความเสื่อมเป็นธรรมคออยู่ อย่างนั้น ฉะก็ย่อมไม่อิ่มไปในอันพอกพูนไว้ ข้อว่า "วิริญามานปัสนา" ได้แก่การเห็นความเป็นไปเสื่อมอย่างอื่น ล้วนเสื่อมซึ่งข้อกำหนดไว้นั้น ๆ โดย (กำหนดไว้) เป็นลาภมี รูปสัตตะ (หมวดรูป ๓) เป็นต้น หรือการเห็นความเปลี่ยนแปลงไป ด้วยอารมณ์ ๒ คือธารา และมรณะ แห่งสิ่งที่เกิดขึ้นแล้ว การละวิวัชญา ย่อมมีได้ด้วยวิริญาปัสนา
* ขุ. ป. ๑๓/๔๕ คาตนี่ย่อมาในปฏิบัติญาณาทัสนวิสุทธินทา บาทแรกเป็น นุเวน,วในที่นี้เป็น...นุเวน คลาดเคลื่อนไป องิฐ เครื่องหมาย หัวตาปู้นประโยคหลังบากท้าทายทั้งเกิน because อกิจพิพัทธ์นั้น สรุปใน เอว่างั้น