พระไตรปิฎก - วิสุทธิมรรถแปล ภาค ๑ ตอน ๒ (ตอนจบ) วิสุทธิมรรค ภาค 3 ตอน 2 หน้า 202
หน้าที่ 202 / 329

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาดังกล่าวสำรวจความหมายของภัยแท้และการปฏิบัติธรรม อธิบายถึงความสามารถในการเห็นโทษของอาทิตาวิปศนญาณ และความรู้ในนิพพานญาณ ผ่านการเปรียบเทียบกับพระราชาที่ทรงธรรม ยืนยันว่าความรู้คือการพัฒนาเพื่อปลดเปลื้องกิเลสและเข้าสู่ความสงบ.

หัวข้อประเด็น

-อาทิตาวิปศนญาณ
-นิพพานญาณ
-อนุโลมญาณ
-การปฏิบัติธรรม
-ความรู้ในพระไตรปิฎก

ข้อความต้นฉบับในหน้า

พระไตรปิฎก - วิสุทธิมรรถแปล ภาค ๑ ตอน ๒ (ตอนจบ) - หน้า 202 เป็นไปกับด้วยภัยแท้หนอ ได้ปรากฏโดยเป็นสิ่งน่ากลัวแก่ผู้ปฏิบัติธรร- ญาณ และว่า "อาทิตาวิปศนญาณได้เห็นโทษในสิ่งที่เป็นไปกับด้วย โทษแท้หนอ" และว่า "นิพพานญาณได้เมื่อหนายในสิ่งที่น่าอเนาะหนอ แท้หนอ" และว่า "มูลฎิจฉามญาณได้เกิดความใคร่ปลดเปลื้อง ในสิ่งที่น่าอเนาะปล่อยแท้หนอ" และว่า "สิ่งที่ควรพิจารณา (หาทาง ปลดเปลื้อง) แท้หนอ อันสังสมญาณญาณเข้าไปพึ่ง (วงเวน) แท้หนอ อันสังสมญาณ เข้าไปพึ่ง (วงเวน) แท้" ดังนี้ และยังอนุโลมแก่วิปศักดิ์ธรรม 13 ในเบื้อปลายด้วย เพราะโพรจิญญาธรรมเหล่านั้นเป็นธรรมที่จ พึงถึงได้ด้วยความปฏิบัติ (คือการมีกิเลสที่บังสั่งจะเอาอนุโลมญาน) นั้น [อุปมาแห่งอนุโลมญาณ] อุปมาเหมือนพระราชาผู้ทรงธรรมประทับนั่ง (เป็นประธาน) ณ วิจินฉฐาน (ศาลหลวง) ได้ทรงฟัง (คำ) วิจัยฉของโวหาริ- มหาอามาตย์ (ลูกษร) ทั้ง ๙ แล้วทรงละเสียซึ่งความลำเอียง วางพระ- องค์เป็นกลาง เมื่อทรงอนุโมทนา (คือพระราชานฤมิต) ไว้ว่า จงเป็นอย่างวินิจฉันนั้นเกิด คื้อว่าอารณอนุโลมแก้ (คำ) วิจัยฉของ โวหาริยมอามาตย์เหล่านั้นด้วย แก่โบสถ์ธรรมด้วย ฉันใด ขออนุมันี้ บัญฑิตก็พึงทราบ ฉันนั้น [ประโยคความ] ก็แหละ อนุโลมญาณ (นั่น) เปรียบเหมือนพระราชา ญาณ ๙
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More