วิสัยทัศน์การเปล ภาค 3 (ตอนจบ) วิสุทธิมรรค ภาค 3 ตอน 2 หน้า 86
หน้าที่ 86 / 329

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาลงลึกถึงการเปลี่ยนแปลงของรูปที่เกิดจากอาหารและอุดมรูป ผ่านแนวคิดเกี่ยวกับไตรลักษณ์ โดยอธิบายถึงความไม่เที่ยง ทุกข์ และอนัตตาของรูปเหล่านี้ รูปในระยะต่างๆ อธิบายถึงความรู้สึกอันเกิดจากหัวข้อที่มีการแบ่งเป็น 4 ส่วน ตามหลักการทางพระพุทธศาสนา ซึ่งทำให้ผู้ศึกษาสามารถเข้าใจการเปลี่ยนแปลงของรูปในสถานการณ์ต่างๆ ได้ดียิ่งขึ้น dmc.tv

หัวข้อประเด็น

-วิสัยทัศน์การเปล
-พระโโยนิ้น
-ไตรลักษณ์
-อาหารรูป
-อุดมรูป
-ความไม่เที่ยง
-ทุกข์
-อนัตตา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - วิสัยทัศน์การเปล ภาค 3 (ตอนจบ) - หน้าที่ 86 [มนต์คริการโดยเกณฑ์สมบูรณ์ 4] พระโโยนิ้น ครับยกขึ้นสู่ไตรลักษณ์ในโโยมัตตรุโดย อาการต่าง ๆ อย่างนี้แล้ว กระจายรูปนั้นแหละออก ทำให้เป็น 4 ส่วน โดยเกณฑ์สมบูรณ์ 4 มืออามรูป (รูปที่เกิดด้วยอาหาร) เป็นต้น ยกขึ้นสู่ไตรลักษณ์ในแต่ละส่วนอีก [มนต์คริการอาหารรูป] ในรูป 4 ส่วนนัน อาหารรูป ย่อมปรากฏพระโโยนิ้นด้วย อาหารถจอฉ และอิ่ม จริงอยู่ รูปที่ตั้งขึ้นในคราววาด ย่อมเป็นรูปที่เอารูปที่ อดีโรรบพรสมลักษณะทอรงไป ราวกะ otไฟไหม้ และราวกะกา ซูกอยู่ในกะรก่าน รูปที่ตั้งขึ้นในคราวอิ่ม ย่อมเป็นรูปอิ่มเต็ม อ่อนละมุนมีผัสสะ (ดีน่าจับต้อง) พระโโยนิ้นกำหนดคออาหารรูปนี้นับ ย่อมขึ้นสู่ไตรลักษณ์ในรูป นั่นอย่างนี้ "รูปอันเป็นไปในคราววอด ย่อมดับไปในคราววอดนี้เอง ไม่ถึงคราวอิ่ม รูปอันตั้งขึ้นในคราวอิ่มล่า ก็ย่อมไปในคราวอิ่มนี้เอง ไม่ถึงคราวอิ่ม เหตุนี้ แม้อาหารรูปนั้น จึงชื่อว่าไม่เที่ยงเป็นทุกข์ เป็นอนัตตา" [มนต์คริการอุดมรูป] อุดมรูป (รูปที่เกิดด้วยอุด) ย่อมปรากฏด้วยอำนาจเย็นและ ร้อน จริงอยู่ รูปที่ตั้งขึ้นในความร้อน ย่อมเป็นรูปกิริยะเรโห ผิวพรรณคล้ำไป รูปที่ตั้งขึ้นด้วยอุณหถิ่น (สบาย) ย่อมเป็นรูป * อุปมานี้ใช้ได้สำหรับคนผิวคล้ำเช่นชาวลังกานั่น (?) * อุปมานี้ใช้ได้สำหรับคนผิวคล้ำเช่นชาวลังกานั่น (?)
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More