วิทยาธรรมแปล ภาค ๓ ตอน ๒ ตอนจบ วิสุทธิมรรค ภาค 3 ตอน 2 หน้า 103
หน้าที่ 103 / 329

สรุปเนื้อหา

ข้อความจากหนังสือเล่มนี้สื่อถึงการเกิดขึ้นและการแปรเปลี่ยนขององค์ประกอบในชีวิต อาทิ รูป เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ พร้อมรายละเอียดเกี่ยวกับญาณและความเข้าใจในธรรมชาติของการเกิดและดับ นอกจากนี้ ยังมีการอ้างอิงถึงการเป็นปัจจุบันและความสำคัญของการเห็นความแปรเปลี่ยนนั้นในทางปัญญา การฉายภาพให้เห็นถึงมรรคที่เกิดขึ้นและยังไม่เกิดนั้น เพื่อเป็นแนวทางสู่การเข้าถึงวิปัสสนาญาณซึ่งเป็นการเห็นธรรมชาติแห่งแท้จริง การเข้าใจในหลักปรัชญานี้มีความสำคัญต่อการพัฒนาสติปัญญาและการตระหนักในธรรมชาติของการมีอยู่.

หัวข้อประเด็น

-การเกิดขึ้นของรูปและเวทนา
-ลักษณะการแปรเปลี่ยน
-ญาณและการรับรู้
-สังขารในเวลาปัจจุบัน
-ความดับและการเกิดใหม่

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ปรโยคฺ - วิทยาธรรมแปล ภาค ๓ ตอน ๒ (ตอนจบ) หน้าที่ 103 ไร ? แก้วรุปเกิดขึ้นปัจจุบัน ลักษณะที่เกิดขึ้นแห่งรูปนั้นเป็นอวย อุทยา ลักษณะที่แปรไปแห่งรูปนั้นเป็นอวย ปัญญาคำนี้เห็น (อุทยะและยะนั้น) เป็นญาณ มานะ... สัญญา... สังขาร... วิญญาณเกิดขึ้นเป็นปัจจุบัน ลักษณะเกิดขึ้นแห่งเวทนา...สัญญา ...สังขาร...วิญญานันทเป็นอุทยะ และลักษณะที่แปรไปแห่งเวทนา...สัญญา ...สังขาร...วิญญานนันเป็นอวยะ ปัญญา ...สัญญา...สังขาร...วิญญานนันเป็นอวยะ ปัญญา คำนี้เห็น (อุทยะและยะนั้น) เป็นญาณ จักรเกิดขึ้นเป็นปัจจุบัน ฯลฯ ภาพเกิดขึ้นเป็นปัจจุบัน ลักษณะที่เกิดขึ้นแห่งจัญญู ฯลฯ ภาพนั้น เป็นอุทยะ ลักษณะที่แปรไปแห่งจัญญู ฯลฯ ภาพนัน เป็นอวยะ ปัญญาคำนี้เห็น (อุทยะและยะนั้น) เป็นญาณ "พระโยคนี้นั้นก็เห็นนิพพัตติถิลาอคะ เป็นความเป็นขึ้นความเกิด ขึ้น อการที่เป็นใหม่ขึ้น แห่งมรรคูที่เกิดแล้วจะเป็นอุทยะ คำนี้ เห็นวิปรามลักษณะคือความสั้นไปความดับไปแห่งมรรคูที่เกิดแล้วว่าเป็นอวยะ ตามนายบาลนี้ เธออ่อนรู้ว่าถึงอย่างนี้ว่า "ในกาลก่อนแต่ความเกิดขึ้นแห่งมรรคูนี้ กองหรือหนวดหมู่ ของมรรคูที่ยังไม่เกิด" ด้ามเป็นสำคัญ ท่านจิเรยกปัญญาเห็นความแปรเปลี่ยนเป็นประธาน แต่อย่างว่าความดับนั้นมีการเห็นความเกิดเป็นบุพกา คือองค์เห็นความเกิดก่อนจึงจะเห็นความดับได้ ท่านจึงเรียกวิปัสสนาญาณข้อนี้ว่าว่าดุอุพพพุทธบูชาอันสนญตาเท่านั้นเอง ๑. ชาติ-เกิดแล้ว ในบาลีนี้ท่านหมายเอาว่าเนื่องอยู่ในนาฏะ ๓ ไม่ใช่เป็นอดีต เพราะฉะนั้นท่านจึงเรียก ปัจจุบัน กำไ้ไว้ด้วย ๒. ย. ป. ๑๓/๑๘
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More