วิสุทธิมรรคแนวภาค ๓ ตอน ๒ (ตอนจบ) วิสุทธิมรรค ภาค 3 ตอน 2 หน้า 95
หน้าที่ 95 / 329

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาในตอนนี้กล่าวถึงการพิจารณาจิตดวงต่างๆ เพื่อเข้าใจถึงความไม่เที่ยงและทุกข์ โดยเริ่มจากจิตดวงแรกแล้วพิจารณาไปยังจิตดวงถัดไปจนถึงจิตดวงที่สิบ การหมุนเวียนในการพิจารณาเพื่อให้เห็นแจ้งในธรรมที่ไม่เที่ยง อธิบายคำว่า 'หมุนเวียน' และการแก้ความหมายในการศึกษาได้อย่างชัดเจน ในการทำความเข้าใจธรรมชาติของจิตและรูปธรรมที่ไม่ถาวร.

หัวข้อประเด็น

-การพิจารณาจิต
-ธรรมนิยม
-ความไม่เที่ยง
-อนัตตา
-วิสุทธิมรรค

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - วิสุทธิมรรคแนวภาค ๓ ตอน ๒ (ตอนจบ) - หน้าที่ 95 [ปฏิภาณโจโดลำดับ] ข้อว่า "ปฏิภาณโจ-โดยเป็นคำลับ" ความว่า ภูกูจิณณะ อานนท์ก็ปรุ่ ใม่เที่ยงเป็นทุกข์เป็นอนัตตาแล้ว พิจารณาจิตดวงแรก (ที่พิจารณา) นั้น ด้วยจิตดวงที่ ๒... พิจารณาจิตดวงที่ ๒ ด้วยจิตดวงที่ ๓... พิจารณาจิตดวงที่ ๓... พิจารณาจิตดวงที่ ๔... ด้วยจิตดวงที่ ๔ ๆๆ พิจารณาจิตดวงที่ ๑๐ นั้น ก็ไม่เที่ยงเป็นทุกข์เป็นอนัตตา พิจารณาโจทกุคคณูป.. อาหารรามรูป...อุทุมรูป... จิตสมฐานรูป... ธรรมะ-รูป ว่าไม่เที่ยงเป็นทุกข์เป็นอนัตตาแล้ว พิจารณาจิตดวงแรก (ที่พิจารณา) นั้น ด้วยจิตดวงที่ ๒... พิจารณาจิตดวงที่ ๓... ด้วยจิตดวงที่ ๓... ๆๆ พิจารณาจิตดวงที่ ๑๐ ด้วยจิตดวงที่ ๑๑ ว่าแม้จิตดวงแรก ๆๆ จิตดวงที่ ๑๐ นั้น ก็ไม่เที่ยงเป็นทุกข์เป็นอนัตตา พึงหมุนเวียนพิจารณาไปตามลำดับวัย สงุ้นลวดทั้งวันก็ได้ แต่เพราะว่า เพียงพิจารณาจิตดวงที่ ๑๐ (ไม่ว่า) รูปธรรมฐานก็ดี อุปจารธรรมก็ดี ก็เป็นอันคล่องแคล่ว (คือปรากฏชัดแล้ว) เหตุ * ภูฎุย ปฎุมญุตภูมิแก้ความว่า สมฌวนาย พิจารณาแล้วเห็นว่า ภูฏุยในที่นี้ แปลว่า "หมุนเวียน" ได้ความคำว่าแปลว่า "คาร" เพราะธรรมฐานนี้ให้พิจารณาจัดพองจดที่ ๑o เป็นวรรค ๑ เมื่อจะพิจารณาอีก ก็กลับตั้งต้นใหม่ โดยยึนั่นเป็นวรรค ๆ ไป จึงว่า "หมุนเวียน" ถ้าดังนี้ ปฏิภาณภูมิที่ทีมพูว่า "สมฌวนาย" น่าจะคลาดเคลื่อน ที่ถูกจะเป็น "สมฌเมย" ซึ่งแปลว่า "หมุน" ก็คือให้ แปล ภูฏุย คำทั้งว้า "หมุน" ไม่ใช่ "คาร" นั่นเอง
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More