ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยคส- วิญญาณภาษาแปล ภาค 3 ตอน 2 (ตอนจบ) หน้าที่ 160
กล่าวไว้ (ข้างต้น) ว่า "พระโยคาวจรกำหนด (สังวร) อย่างนั้น
เพื่ออญฺญา (วิธี) แห่งการปลดเปลื้องให้สำเร็จ ดังนี้
ด้วยการพิจารณา (รู้) เพียงเท่านี้ ปฏิสังขาญาคมเป็นอันเกิดขึ้น
แก่พระโยคาวจรนี้แล้ว ซึ่งท่านหมายเอา กล่าวไว้ (ในบัญติ-
สัมภาษณร) ว่า "(ถามว่า) เมื่อภิกษุมุนสิการโดยอาการไม่เที่ยง
ญาณพิจารณา (รู้) อะไรก็ขึ้น เมื่อภิกษุมุนสิการโดยอาการเป็นทุกข์
... โดยอาการเป็นอนัตตา ญาณพิจารณา (รู้) อะไรก็ขึ้น? (ตอบ
ว่า) เมื่อภิกษุมุนสิการโดยอาการไม่เที่ยง ญาณพิจารณา (รู้) นิมิตเกิด
ขึ้น เมื่อภิกษุมุนสิการโดยอาการเป็นทุกข์ ญาณพิจารณา (รู้) ปวดตะ
เกิดขึ้น เมื่อภิกษุมนสิการโดยอาการเป็นอนัตตา ญาณพิจารณา (รู้)
ทั้งนิมิตทั้งปวดตะเกิดขึ้น
กล่าวว่า "นิมิต ตุ๊ก ปฏิวุญฺชา" ในบทส หมายความว่า รู้สังขาร-
นิมิตด้วยอำนาจอจินณาลักษณะว่า สังขารนิมิตเป็นของไม่ยืน เป็นไป
ชั่วคราว จริงอยู่ รู้ก่อนแล้วญาณจึงเกิดหลังโดยแท้ ถึงกระนั้นท่าน
กล่าว (เป็นสมานกาลกิริยา) อย่างนั้น ก็ด้วยอำนาจวิหาร ดังคำว่า
"มนญฺญ ปฏิวุญฺช ฯม ฆม ฑ มโนวิญญาณ- ฯนโวญฺญาณ
อาเสมะและธรรมามิตทั้งหลายเกิดขึ้น" ดังนี้เป็นต้น นอกจากนี้ พึง
ทราบว่าท่านกล่าวอย่างนั้น เพราะทำหน้และคำกล่าวให้เป็นอัน
เดียวกันโดยเค้าคัตยั ความหมายแม้ในสองบทนอกจากนี้ก็พึงทราบโดย
นัยนี้แหละ
ปฏิสังขาปฏิสัญญา ขบ