ข้อความต้นฉบับในหน้า
เชิงสิ่งที่ถูกรู้ (คืออารมณ์) ด้วย เชิงตัวรู้ (คืออนุสํานาญ) ด้วย ทั้ง ๒ อย่าง " ดังนี้ ก็แก่ว่า " อนุปลาสติ-อ่อนตามเห็น" ในข้อนี้ ได้แก่เห็นเนื่อง ไป หมายความว่า เห็นเนื่อง ๆ ด้วยอาการหลายอย่าง เพราะเหตุนี้นั้น ท่านจึงกล่าวไว้ว่า "คำว่าตามเห็น (นั่น) คือตามเห็นอย่างไร ? คือ ตามเห็นโดยความไม่เที่ยง ดังนี้เป็นต้น ในการกล่าวนั้น เหตุใด อันความแตกดับอ่อนเป็นปลายสุด แห่งอนิจจา เพราะเหตุนี้นั้น พระโคตรวารูปเป็นบังคนูปลาสถานนี้จึง ตามเห็นสัจจะบ้างโดยความไม่เที่ยง มีใช่โดยความเที่ยง ลำดับนั้น เพราะความที่สิ่งที่ไม่เที่ยงก็เป็นทุกข์ และเพราะความที่สิ่งที่เป็นความทุกข์ ก็เป็นอนิจจา ดังตามเห็นสัจจะทั้งปวงนั้นแหละโดยความเป็นทุกข์ มิใช่โดยความเป็นสุข ตามเห็นสัจจะทั้งปวงนั้นแหละโดยความเป็นอนิจจา มิใช่โดยความเป็นอัตตา อันนี้ เหตุใด สิ่งใดไม่เที่ยงเป็น ทุกข์เป็นอนัตตา สิ่งนั้นไม่พึงนิยมดีดิน และสิ่งใดไม่พึงนิยมดี ดิน ก็ไม่จำกัดในสิ่งนั้น เพราะเหตุนี้นั้น พระโคตรวารู้นึงบ่อธหายมิใช่ดิน จึงกล่าวว่ากำหนด มิใช่กำนัล ในส่งราที่เห็นแล้วไม่เที่ยง เป็นทุกข์เป็นอนัตตา ตามแนวดังกล่าวในบทนั้น เธอไม่กล่าวนอต่ออยู่ย่งั้น ก็ชื่อว่า ยงรัฐจะให้ดับ มิใช่ให้เกิดขึ้น หมายความว่า ไม่ทำให้เป็นสุขะ (ก่อขึ้น) ได้ ด้วยญาณอันเป็น โลกิยะนั้นแหละก่อน หรืออีกบัณฑิตนั้น เธอเป็นผู้กล้าหาญดังนั้น"
*มหาฤกษ์กว่า ญาณนั้นนี้ สามารถเพียงให้ถึงวิถีมนุษย์ คือดับได้ด้วยนะไว้ (ไมถึง สมุจฉา) จึงว่าเป็นญาณโลภะ