ข้อความต้นฉบับในหน้า
มิให้เกิดขึ้นแห่งอริยมรรคทั้งหลายที่เกิดขึ้นแล้วและที่ยังมิได้เกิดขึ้น และยังเกิดให้เกิดขึ้นและตั้งอยู่ (มิให้เสื่อมไป) แห่งกุศลทั้งหลายที่ยังมิได้เกิดและเกิดแล้วให้สำเร็จ เหตุนี้นั้น ท่านจึงกล่าวว่า สัปปปรารา 4
[อรรถแห่งอภิธาน]
คุณชาติเข้าถืออธิษฐาน เพราะอรรถคือสำเร็จ (บังเกิดผล) ซึ่งกล่าวแล้วในภาคก่อน คือในอภิธรรมอธิบายธรรมใดเป็นบาทแห่งอภิธรรม โดยอรรถคือเป็นหัวหน้า (คือเป็นอธิ) แห่งสัมปุฏธรรมของอธิษฐานนั้น และโดยอรรถคือเป็นเหตุส่วนเบื้องต้นแห่งอธิษฐานนั้นๆ เหตุนี้ธรรมนี้จึงชื่ออธิษฐานอธิษฐานนี้มีวฏฺฐานเป็น 4 ด้วยอำนาจธรรม (ที่เป็นบาท) มันฑะจะเป็นต้น เหตุนี้ ท่านจึงกล่าวว่า อิติธิปฺปฏา อนุติปฺปฺปิโก วิริยธิปฺปโต จิตติธิปฺปโต วิสิฏฺฐิธิปฺปโต-อิทธิบาท 4 คือ อิทธิบาทคืออันทะ อิทธิบาทคือวิริยะ อิทธิบาทคือจิตตะ อิทธิบาทคือมังสา ดังนี้ธรรมมีนทะเป็นต้น (ตามที่กล่าวมา) เหล่านี้เป็นโลกลับระแก่ ส่วนที่เป็นโลภะ แม้เป็นธรรม (เช่นผัสสะ) ที่ได้อาศัยอำนาจบดีว่า จนเป็นกันอธิ เป็นกันก็เป็นอธิ โดยบอกว่า "หาภิกุฏฐานันทนะให้เป็นอธิบดี ได้สมาธิคดีความที่อาตรมเป็นหน่งไช่" นี้เรียกว่าจน-สมาธิ" ดังนี้เป็นอาณี
๑. ปุปพกากรวณณ ปุริอินทิภิมันติ...การญาณ จ้าทีกว่า
๒. อิติ วี. ๓๗/๑๐๓
๓. อิติ วี. ๓๗/๒๒