ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยคส- วิถีธรรมรรยแปลภาค ๓ ตอน ๒ (ตอนจบ) หน้าที่ ๒๒๑
โดยถือเอาสุภาวะ (อาการไม่งาม) ทุกขาภา (อาการเป็นทุกข์)
อนิจจาภา (อาการไม่เที่ยง) อนัตตาภา (อาการเป็นอนัตตา) ใน
กาย มานา จิต ธรรม และโดยยังกิจก็คือการสรุปสัญญา (ความสำคัญ
ว่างาม) สุขสัญญา (ความสำคัญว่าเป็นสุข) นิจสัญญา (ความสำคัญ
ว่าเที่ยง) อัตตสัญญา (ความสำคัญว่าเป็นอนัตตา) ในกาย เวทนา จิต
ธรรมนันให้สำเร็จ จึงแตกเป็น ๔ ประการ เพราะฉะนั้น ท่านจึง
กล่าวว่า สติปฏิบัติ ๔
[อรรถแห่งสัมปปธาน]
ธรรมชื่อว่าปธาน เพราะเป็นเหตุเพียง ปฐานอันงาม ชื่อว่า สัง-
มัปปธาน (แปลว่า ธรรมเป็นเหตุเพียงอันงาม) นัยหนึ่ง ธรรมชื่อ
มัปปธาน เพราะเป็นเหตุเพียงโดยชอบ นัยหนึ่ง ธรรมชาตินั้นชื่อ
ว่า งาม เพราะวันจากความเป็นสิ่งน่าสลดเพราะเล็ด และชื่อว่า
ปธาน เพราะนำมาซึ่งความเป็นผู้ปรเสริฐสุข และเพราะทำความ
เป็นประธาน (คือสูงสุด ?) โดยความหมายว่ายังประโยชน์สุขให้สำเร็จ
ได้ เหตุฉะนั้นชื่อว่าสัมปปธาน คำว่า สัมปปธานนั้นเป็นชื่อของ
วิธีะ สัมปปธานนั้นเป็น ๔ ประการ เพราะยังกิจอธิษฐาน และ
๑. มหาภูกวา การถือเอาธรรมมือสุภาภาเป็นต้นในอารมณ์มีภายในเป็นต้น เป็นคติปฏิฐาน
บุพกา การยังกิจอธิษฐานเป็นต้นให้สำเร็จ เป็นสติปฏิฐานที่เป็นมรรค
๒. เรามักแปลกันเป็นภาวนา ว่า ความเพียร แต่ที่น่าน่าแปลกนะมัธยมว. ว่า ธรรมเป็นเหตุเพียร
(Note: The OCR result above contains the extracted text from the image, which appears to be in Thai language, and may include some complex or less clear segments due to OCR limitations.)