ฤทธิธรรมรถแปล: ความรู้และปัญญาในธรรม วิสุทธิมรรค ภาค 3 ตอน 2 หน้า 257
หน้าที่ 257 / 329

สรุปเนื้อหา

บทความนี้นำเสนอความรู้เกี่ยวกับฤทธิธรรมและการเข้าถึงปัญญาผ่านการกำหนดครูตามหลักธรรมของพระโยคาวร โดยเน้นที่การรู้จริงในธรรมที่ยิ่งใหญ่ และการให้ความหมายผ่านพิสดารตามนัยความสำคัญของญาณปริญญาและตีรณาปริญญาในการเรียนรู้และกำหนดรู้ตามอารมณ์และการวิจารณ์ในประเด็นต่าง ๆ จุดประสงค์เกิดขึ้นเพื่อสร้างความเข้าใจที่ลึกซึ้งเกี่ยวกับการปฏิบัติธรรมและการแสวงหาความรู้เชิงลึกในสายธรรม.

หัวข้อประเด็น

-ปัญญาในธรรม
-ฤทธิธรรมและการกำหนดครู
-ญาณปริญญาและตีรณาปริญญา
-ความรู้เกี่ยวกับฤทธิภูมิ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค๖- วัง ฤทธิธรรมรถแปล ภาค ๓ ตอน ๒ (ตอนจบ) หน้า ๒๕๗ ดั่งนี้แล้ว กล่าวโดยสังเขปดังนี้ว่า "ธรรมทั้งหลายใด ๆ เป็นธรรมที่พระโยคาวรวรู้ด้วยปัญญาอันยิ่งแล้ว ธรรมทั้งหลายนัน ๆ ก็เป็นอันชื่อว่า เธอรู้แล้ว" โดยพิสดารตามนัย (พระพุทธจันทร์) ว่า "ฤทธิภูมิทั้งหลาย สิ่งทั้งปวงปริงรู้สิ่งทั้งปวงเป็นใดน ? ฤทธิภูมิทั้งหลาย จักเป็นสิ่งพิสูจน์ดัง" ดั่งนี้เป็นต้น ชื่อว่า ญาณปริญญา (กำหนดครูด้วยวาจี) ความรู้ซึ่งด้านูมพร้อมทั้งอัญจร์ เป็นภูมิหนึ่งโดยเฉพาะแห่งฤทธิภูมิอันนั้น [ตรีณาปริญญา] ส่วนความกำหนดครูที่ท่านแสดงนั้นตันว่า "ปริญญาปัญญา (ปัญญา รู้ปริญญาอธิธรรม) ชื่อว่าวิญญาณ โดยอธิบายว่าจริงหรือ? " ดั่งนี้แล้ว กล่าวโดยสังเขปดังนี้ว่า "ธรรมทั้งหลายใด ๆ เป็นธรรมอันพระโยคาวรวกำหนดครูแล้ว ธรรมทั้งหลายนัน ๆ ก็เป็นอันชื่อว่า เธอจารย์แล้ว" โดยพิสดารตามนัย (พระพุทธวจนะ) ว่า "ฤทธิภูมิทั้งหลาย สิ่งทั้งปวงพิณกำหนครูสิ่งทั้งปวงพิณกำหนครูเป็นใดน ? ฤทธิภูมิทั้งหลาย จักเป็นสิ่งพิณกำหนครู" ดั่งนี้เป็นต้น ชื่อว่า ตีรณาปริญญา (กำหนดรู้ด้วยการวิจารณ์) ความกำหนดรู้จึงเป็นไปอยู่ด้วยอำนาจอารณ์จรณ์
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More