วิสุทธิธรรรมเปล่า คาถา ตอน ๒ (ตอนจบ) วิสุทธิมรรค ภาค 3 ตอน 2 หน้า 51
หน้าที่ 51 / 329

สรุปเนื้อหา

บทคาถานี้กล่าวถึงธรรมะที่ว่าด้วยสัมมะนะและทุกข์ในรูปแบบที่ชัดเจน พระพุทธองค์ได้แสดงให้เห็นถึงความไม่เที่ยงของรูปทั้งหลาย และความจริงที่ว่าเป็นภัยให้กับเทวดา โดยแยกประเภทสัมมะนะออกเป็น ๑๑ ลักษณะ เพื่อให้เข้าใจถึงอัตตาที่ไม่มีสาระ สื่อถึงความรู้สึกกลัวที่เกิดขึ้นเมื่อพิจารณาความไม่เที่ยงของชีวิต เช่น ความแก่ ความตาย และการพลัดพรากจากส่วนที่รักและคุ้นเคย เห็นว่าแม้จะมีการเปรียบเทียบและแปลสูตรให้มีความหมายเข้าใจได้ แต่โดยรวมแล้ว ความหมายยังคงชัดเจนในการกระตุ้นให้เห็นถึงความสำคัญของการเข้าใจธรรมะนี้เกี่ยวกับชีวิต.

หัวข้อประเด็น

-สัมมะนะ
-ทุกข์
-ความไม่เที่ยง
-พระพุทธศาสนา
-อัตตา
-สีโหนุปสูตร

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค- วิสุทธิธรรรมเปล่า คาถา ตอน ๒ (ตอนจบ) - หน้าที่ 51 ทั้งปวงนี้ จัดเป็นสัมมะนะหนึ่ง ด้วยอำนาจว่า "อนุจิ๋ย ญญูช- ชื่อว่าไม่เที่ยงเพราะอรรถคือสิ้นไป" นั่น แต่ (ว่า) โดยแยกออกไป ก็เป็นสัมมะนะ ๑๑ อย่าง (มีอดีดสัมมะนะ - พิจารณารูปที่เป็นอดีต เป็นต้น) อันนี้ รูปทั้งปวงนั้นแหละชื่อว่าเป็นทุกข์ เพราะอรรถคือเป็นภัย คำว่า "เพราะอรรถคือเป็นภัย" หมายความว่า เพราะเป็นสิ่งน่ากลัว ด้วยว่าสิ่งใดไม่เที่ยง منهنั้นเอาเป็นสัมมะนะ ให้ความกลัวเกิด ขึ้นแก่เทวาทั้งหลาย ในเพราะ (ได้ฟัง) สีโหนุปสูตรนั้นนั่น แม้ สัมมะนะดังกล่าวมานี้คือเป็นสัมมะนะหนึ่ง ด้วยอำนาจว่า "ทุกข์ ภยญาน-ชื่อว่าเป็นทุกข์เพราะอรรถคือเป็นภัย" นั่น แต่ (ว่า) โดย แยกออกไปก็เป็นสัมมะนะ ๑๑ อย่าง (เหมือนกัน) อันนี้ รูปทั้งปวงนั้นชื่อว่าเป็นทุกข์ใน คืือว่าเป็นอัตตา เพราะอรรถคือหาสารม์ได้ฉะนั้น คำว่า "เพราะอรรถคือหาสารม์ ได้" หมายความว่าเพราะไม่มีสารคืออัตตา ที่พวกอัตตาว่าคาดคิด * * * อนุบ. ๑๓๑/๑๓๓ สีโหนุปสูตร มหาวินัยนา ให้แปลเป็นลักษณะ: เติม เทียบมาน เป็นลักษณะเดียว เห็นว่าแปลเป็นนันวิตัสดิ์ดีที่แปลนี้ ก็พอได้ความแล้ว จิ้มแปลตามท่าน ความสังเขปให้โพมสูตรนี้ว่า พระพุทธองค์ก็แสดงความไม่เที่ยงไม่อึดอัดแห่งบุญขัันธ์ พวกทวดซึ่งสำคัญว่าพวกตนเป็นพวกยืนไม่รู้จักแก่ใจ ได้ฟังพระธรรมเทศนานั้นแล้วได้สำเหนียก รู้ความจริงขึ้น ก็เกิดความกลัวว่าตัวจะต้องแก่ตาย จะต้องพลัดพรากรมณ์บิดา คูู สัตว์ทั้งหลายได้ยินเสียงแผดของราชสีห์ก็สะดุ้งกลัวจนั่น
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More