วิชาทิธรรม: รูปลักษณ์และความไม่เที่ยง วิสุทธิมรรค ภาค 3 ตอน 2 หน้า 80
หน้าที่ 80 / 329

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้อธิบายเกี่ยวกับความไม่เที่ยงของรูปลักษณ์ในวิชาทิธรรม โดยการแบ่งเวลาเป็นส่วนๆ และการอธิบายรูปลักษณ์ที่เกิดขึ้นในช่วงต่างๆ เช่น กลางวัน กลางคืน และยามต่างๆ รูปลักษณ์ถูกตั้งข้อเสนอว่าเป็นสิ่งที่ไม่เที่ยงเป็นทุกข์เป็นอนัตตา ซึ่งถือเป็นหลักสำคัญในการศึกษา.

หัวข้อประเด็น

- วิชาทิธรรม
- รูปลักษณ์
- ความไม่เที่ยง
- การแบ่งเวลา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค๓ - วิชาทิธรรมเเต่ก คาด ค ตอน ๒ (ตอนจบ) - หน้าที่ 80 [ซอยเดือน ๑ เป็น ๒ ส่วน] ครั้นยกขึ้น (โดยซอยปี ๑ เป็น ๖ ส่วน) อย่างนี้แล้ว แต่นั้น ยกขึ้นสู่ราศีลักษณ์โดยเกณฑ์ (แบ่งเดือน ๑ เป็น) ฤกษ์แรมข้างขึ้นว่า "รูปลักษณ์เป็นไปในข้างแรม ก็คล go in น่งแรมมันเอง ไม่ถึงข้างขึ้น รูปลักษณ์เป็นไปในข้างขึ้น ก็คล go in น่งข้างขึ้นเอง ไม่ถึงข้างแรม เหตุ นั้น รูปลักษณ์คือว่าไม่เที่ยงเป็นทุกข์เป็นอนัตตา" [ช่วงว้น ๑ เป็น ๒ ส่วน] แต่นั้น ยกขึ้นสู่ราศีลักษณ์โดยเกณฑ์ (แบ่งว้น ๑ เป็น) กลาง คืนกลางวันว่า "รูปลักษณ์เป็นไปในกลางก็คล go in ในกลางคืนมันเอง ไม่ถึงกลางวัน รูปลักษณ์เป็นไปในกลางวันแหละ ก็คล go in ในกลางวันนั้นเอง ไม่ถึงกลางคืน เหตุนัน รูปนั้นจึงถือว่าไม่เที่ยงเป็นทุกข์เป็นอนัตตา" [ช่วงว้น ๑ เป็น ๖ ส่วน] แต่นั้น ทำคืนและว้นนั้นแหละให้เป็น ๖ ส่วน โดยเกณฑ์ส่วน ของว้นมีตอนเช้าเป็นต้น ยกขึ้นสู่ราศีลักษณ์ว่า "รูปลักษณ์เป็นไปใน ตอนเช้า ก่ายอ้อมดับไปในตอนเช้านั้นเอง ไม่ถึงตอนกลางวัน รูปอ้อม เป็นไปในตอนกลางวัน ก็คล go in ตอนกลางวันนั้นเอง ไม่ถึงตอนเย็น รูปลักษณ์เป็นไปในยามเย็น ก็คล go in ตอนเย็นนั้นเอง ไม่ถึงยามกลาง รูปอ้อมเป็นไปในยามกลาง ก็คล go in ยามกลางนั้นเอง ไม่ถึงยามปลาย รูปอ้อมเป็นไปในยามปลาย ก็คล go in ยามปลายของยามกลางนั้นเอง ไม่ถึงยามปลาย ๑-๒. ท่านนับข้างแรมเป็นตัน และนับกลางคืนเป็นวัน
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More