วิสัชธรรมแปล กาค 3 (ตอนจบ) วิสุทธิมรรค ภาค 3 ตอน 2 หน้า 18
หน้าที่ 18 / 329

สรุปเนื้อหา

บทความนี้นำเสนอการตีความธรรมจาก กาค 3 โดยเน้นที่การเห็นสิ่งต่างๆ ตามความเป็นจริงและธรรมชาติของความขาดสุข. เมื่อเห็นความเป็นธรรมชาติดังกล่าว ได้แก่ สภาวะที่ปราศจากตัวตน การเห็นรูปแบบที่แท้จริงโดยไม่ติดใจในสั งวัต. นอกจากนั้นยังอภิปรายเกี่ยวกับนัยน์ตร์และความว่างเปล่าของการรับรู้, รวมถึงความไม่แน่นอนของชีวิตและการมองเห็นโลกอย่างรอบคอบ. อ้างอิงจากพระไตรปิฎก (อิตฺ ๒๕/๒๓)

หัวข้อประเด็น

-ธรรมชาติของการเห็น
-ความว่างเปล่า
-การตีความศาสนา
-การปฏิบัติทางจิต
-การวิเคราะห์ความรู้สึก

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - วิสัชธรรมแปล กาค 3 (ตอนจบ) - หน้า: 18 กระแสธรรม ไม่เลือดไหม ไม่ยังหด ไม่อ่อนใจลง (เชื่อ) อย่างนี้ และ ภิกุทันหลาย เทวาและมนุษย์พวกหนึ่งลำหลังอยู่ ดูกรภิกษุทั้งหมด เทวาและมนุษย์พวกหนึ่งยังลงไปเป็น อย่างไร ก็แลเทวาและมนุษย์พวกหนึ่ง ระอา ขยะ แจง รังเกียจภาพ นั่นแล ขินดีนิสซึ่งวิภาค (ความขาดสุข) เป็นเหตุ (ให้) กล่าวว่าจะ "ท่านผู้เจริญทั้งหลาย นิจวา อัตตานี้ เมืองหนานแต่ตายเพราะากแตกไป ยอมขาด ย่อมสุข ย่อมไม่มี (อีก) เบื้องหน้าตายไป ความขาดสุข นั่นเป็นธรรมชาติละเอียด ความขาดสุขนี้เป็นธรรมชาติปรินิพพุต ความ ขาดสุขนี้นเป็นธรรมชาติแท้จริง อย่างนี้แล ภิกุทั้งหลาย เทวาและ มนุษย์พวกหนึ่งเลยยังไป ดูกรภิกษุทั้งหมด ก็ฝ่ายพวกผู้มีจักษุอ่อนเห็นเป็นอย่างไร ดูกร ภิกุทั้งหลาย ภิกุในธรรมวันนี้ย่อมเห็นรูป (คือเบื้องขันธ์ร้อนนาม รูป) โดยความเป็นรูป คือไม่เห็นเป็นสั งวัตเป็นบุคคล ครั้งเห็นรูป โดยความเป็นรูปแล้ว ย่อมเป็นผู้ปฏิบัติ เพื่อเนื้อหัย เพื่อคบไปแห่งรูป อย่างนี้แล ภิกุทั้งหลาย ฝ่ายพวกที่มีจักษุอ่อนเห็น" ดังนี้ เพราะเหตุนี้ นัยน์ตร์เป็นของว่างเปล่า (จากตัวตน) ไม่มี ชีวะ ไม่มีความดำริ แต่ว่านมันเดินก็ได้ หยุดก็ได้ ปราถนเหมือนของ มีความดำริมิความพยายาม ด้วยอำนาจการประกอบกันเข้าแห่งไม้ กับ เชื่อ (ชก) ฉันใด แน่นามและรูปลีนั่นก็ผิดหัวเป็นสิ่งว่างเปล่า ไม่มีชีวะ ไม่มีความดำริ แต่วามันเดินก็ได้หยุดก็ได้ ปราถนเหมือน ดังนี้ * ข. อิตฺ ๒๕/๒๓
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More