วิชาภิธรรมแปลภาค 3 ตอน 2 (ตอนจบ) วิสุทธิมรรค ภาค 3 ตอน 2 หน้า 109
หน้าที่ 109 / 329

สรุปเนื้อหา

บทนี้กล่าวถึงความปราถนาในสภาวธรรมที่เกิดจากการหยั่งรู้ถึงความเป็นไปของธรรมทั้งหลาย ว่ารวมทั้งความเกิดและความเสื่อม โดยเน้นถึงอนิจจลักษณะและการเห็นความว่างเปล่าของสังขารธรรม ซึ่งส่งผลกระทบต่อความเข้าใจและการปฏิบัติในพระพุทธศาสนา ผ่านการตระหนักรู้ในสภาพที่ไม่คงที่ของทุกสิ่ง.

หัวข้อประเด็น

-ความปราถนาในพระธรรม
-อนิจจลักษณะ
-สังขารธรรม
-ความเกิดและความเสื่อม
-การหยั่งรู้ในพระพุทธศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - วิชาภิธรรมแปลภาค 3 ตอน 2 (ตอนจบ) หัวย 109 อันปราถนาแก่พระโหว่นั้น เพราะหยั่งรู้ความที่ธรรมทั้งหลายเป็นสภาพ มีความเป็นไปเนื่องด้วยปัจจัย โดยไม่เคลื่อนไคลาด ด้วยการเห็น ทั้งความเกิดขึ้นและความเสื่อมไปโดยตน อนิจจัลักษณะย่อมเป็นอัน ปราถนา เพราะหยั่งรู้ความที่ธรรมทั้งหลายเป็นสภาพมันแล้วก็ไม่มี และ เพราะหยั่งรู้ความว่างเปล่า (แห่งสังขารธรรมทั้งหลาย) ทั้งในส่วนก่อน และส่วนหลัง (คือทั้งในอดีตและอนาคต) ทั้งทุกลักษณะก็เป็น อันปราถนา เพราะหยั่งรู้ความถูกบีบคับด้วยความเกิดและความเสื่อม แม้ว่าลักษณะ (ลักษณะที่เป็นสภาพวะ) ก็เป็นอันปราถนา เพราะ หยั่งรู้ว่าเป็นธรรมที่กำหนดไว้ว่าด้วยความเกิดและความเสื่อม แม้ว่าที่ สงขลักษณะเป็นไปชั่วกาล (คือช่วงจะนะ) ก็เป็นอันปราถนา เพราะหยั่งรู้ความไม่มีแห่งความเสื่อมในลักษณะเกิด และแห่งความเกิด ในลักษณะเสื่อม และ สงขลาทั้งหลายย่อมปราถนาเป็นทองนิตย์แห่งพระไตรโลกนี้ ผู้มีประเภทแห่งสังจะ ปฏิจจสมุปบาท นัย และลักษณะอันเกิดปราถนา แล้วอย่างนั้น โดยหยั่งรู้ว่า “อันธรรมเหล่านี้ใช้ไม่เคยมาสิ้นขึ้น (แต่) มันเกิดขึ้นแล้วย้อนดับไปอย่างนี้นี้เอง” องค์ ไนี้ดัหมันปราถนา เป็นของใหม่เป็นนิยามเท่านั้นมมาได้ มันยังปราถนาเป็นของตั้งอยู่ชั่วกาล อันสั้นโดยปกติ ดังหยาดน้ำค้าง เมื่อดวงอาทิตย์ขึ้น ดังต้อมน้ำดัง รอ่ยไม้ (ขียด) ในกี ดงเมล็ดผักกาดที่ปลายเหล็กแหลม และดังฟ้าแลบ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More