วิสุทธิมรรคแปลก ๓ ตอน ๒ (ตอนจบ) วิสุทธิมรรค ภาค 3 ตอน 2 หน้า 57
หน้าที่ 57 / 329

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาในส่วนนี้ครอบคลุมการอธิบายเรื่องอุปาทวโต, ภยโต, และอุปสรรคโต โดยเน้นถึงความไม่มั่นคงของสภาพต่าง ๆ ทางธรรมและความสำคัญของการมองให้เห็นถึงจุดอ่อนและความไม่แน่นอนในชีวิต เพื่อให้เข้าใจถึงธรรมชาติจริงของสิ่งทั้งหลาย โดยนำเสนอแนวคิดเกี่ยวกับการไม่ควรยึดติดและวิธีการพึ่งพาตนเองในทางที่ถูกต้องตามหลักธรรมชาติ.

หัวข้อประเด็น

-อุปาทวโต
-ภยโต
-อุปสรรคโต
-ความไม่มั่นคง
-การพึ่งพาทางธรรม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - วิสุทธิมรรคแปลก ๓ ตอน ๒ (ตอนจบ) - หน้าที่ 57 อุปาทวโตโดยอาการชื่อว่าเป็นอุปาทว เพราะเป็นพื้นที่สำหรับอุปาทวทั้งปวง เหตุเนื่องมาซึ่งอุปาทวใหญ่ ๆ ที่ไม่รู้ (คือไม่ได้อาคิดไว้) เลย ภยโตโดยอาการชื่อว่าเป็นภัย เพราะเป็นบ่อเกิดแห่งภัยทั้งปวง และเพราะเป็นฝ่ายตรงข้ามต่ออบอาสสะ (ความโลภอย่างยอดเยี่ยม) ที่ได้แก่ความสงบทุกข์ อุปสรรคโตโดยอาการชื่อว่าเป็นอุปสรรค เพราะถูกอนัตตกะหลายอย่างพัน กัน เพราะถูกสิ่งที่เป็นโทษขวาง และเพราะควรแก่นัน ไม่พึงรับเอาดังอุปสรรค ฉลาดโตโดยอาการชื่อว่าไว เพราะหวันไวด้วยพยายามมนะ และด้วยโลกธรรมทั้งหลายละลาและเสื่อมลาเป็นต้น ปกงูโตโดยอาการชื่อว่าแตกสาย เพราะมีปกติเข้าถึงความแตกสาย โดยการกระทำ (ของตนหรือคนอื่น) บ้าง โดยเป็นเองบ้าง อทฺธุโตโดยอาการชื่อว่าไม่คงทน เพราะมีการตกไปได้ทุกวัน และเพราะไม่มีเสถียรภาพ อะตานโตโดยอาการชื่อว่าไม่มีที่ทานทน เพราะไม่มีที่คุ้มครอง และเพราะหาความปลอดภัยมิได้ อเลคุณโตโดยอาการชื่อว่าไม่มีที่ทานทน เพราะไม่มีที่คุ้มครอง และเพราะหาความปลอดภัยไม่ได้ อเลคุณโตโดยอาการชื่อว่าไม่มีที่กำบัง เพราะไม่มีที่ลับพอจะหลบซ่อนให้ และเพราะไม่ทำหน้าที่กำบังให้แม้แต่สัตว์ทั้งหลายผู้ช่อนตัวอยู่ อสรฺญฺโตโดยอาการชื่อว่าไม่มีที่พึ่ง เพราะไม่มีความเป็นที่กำลังให้แก่ผู้อื่นทั้งหลายได้
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More