วิสุทธิธรรมแปล ภาค ๓ ตอน ๒ ตอนจบ วิสุทธิมรรค ภาค 3 ตอน 2 หน้า 204
หน้าที่ 204 / 329

สรุปเนื้อหา

บทความนี้เข้าใจถึงความหมายลึกซึ้งของวิสุทธิธรรมและสถานะคามี ในมุมมองของพระสูตร พร้อมยกตัวอย่างจากอดีตกทุมสูตรที่กล่าวถึงนิพพาน และการคลายกำหนดเพื่อหลุดพ้น โดยเน้นความสำคัญของธัมมะจิทิคานุ ที่เกี่ยวข้องกับการเข้าใจความเป็นจริงแห่งธรรม และการเกิดขึ้นของจิตจิญาณในกระบวนการเข้าถึงนิพพาน.

หัวข้อประเด็น

-วิสุทธิธรรม
-คามี
-นิพพาน
-ธรรม
-พุทธศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค- วิสุทธิธรรมแปล ภาค ๓ ตอน ๒(ตอนจบ) - หน้าที่ 204 [นามคง ๆ แห่งอนุโลมญาณ] บัดนี้ เพื่อมิให้หลง (เข้าใจผิดคิดเป็นอื่นไป) ในฐานะคามินี- วิสุทธิธรรมแปล จึงควรทราบการเทียบ(ความใน) พระสูตร (ต่อไป) นี้ ข้อสักว่าอะไร ? คือฐานะคามีวิสุทธิธรรมนี้ ในสายตมนวิสูตร ตรัสเรียกว่า "อดัมนยม-ความไม่มีตันหา (ความทะยานใจ)" โดยสุดตอน ว่า "ถูกภิญญ์ทั้งหมดหลาย ท่านทั้งหลายของอดิยมธรรม อาศัย อดิยมธรรม ละเสีย ก้าวล่วงเสียที่ชูงบากันเป็นอกัตตะ (มีสภาวะเดือ) เป็นอดีตสิตะ (อภัยอรมณ์อัคนีอเดีย) นี้ ". ดังนี้ ใน อดีตกทุมสูตร ตรัสเรียกว่า "นิพพิตา" โดยสุดตอนดังนี้ว่า "ภูกุญ เรื่องเบาๆ ย่อมคลายกำหนด เพราะคลายกำหนด ย่อมหลุดพ้น" ในสูตรนี้ (นิทธวรรฺ) ตรัสเรียกว่า "ธัมมะจิทิคานุ-รู้ความตั้งอยู่ คือความเป็นจริงแห่งธรรม" โดยสุดตอน ดังนี้ว่า "ถูกรสุสมะ ธัมมะ-จิตจิญาณเกิดก่อน ความยิ่งรู้ในนิพพานจึงเกิดตามหลัง" ในโพธิ- ปาทสูตร"ตรัสเรียกว่า "สัญญาคะ-ยอดสัญญา" โดยสุดตอน ดังนี้ว่า
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More