ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค- วิจัยธรรมกฤษฎีภาค ๓ ตอน ๒ (ตอนจบ) - หน้าที่ 128
แล้วอ่อนดับไปอย่างนี้ วิบาสนาญชื่อวังคาญุบานอ้อมเกิดขึ้นใน
ฐานะนั้น (คือในภาคที่ปล่อยข้างเกิดเสีย ทำในใจแต่ข้างดับอย่างเดียว?)
ซึ่งนหมายก होलाไว้ (ในปฐมสมภารฎ) ว่า "ถามว่า problem ในการ
พิจารณาอารมณ์และความเห็น (แต่) ความแตกดับ ชื่อว่า วิบาสนาญ
เป็นไฉน? จิตรีรูปเป็นอารมณ์เกิดขึ้นแล้วอ่อนดับก็แตกดับ ภูมิจิจฉนา
อารมณ์นี้แล้ว ย่อมตามเห็นความแตกดับแห่งจิตนี้ คำว่าตามเห็น
(นั้น) คือความเห็นอย่างไร ? คือความเห็นโดยความไม่เที่ยง มี@Api
โดยความเที่ยง ตามเห็นโดยความเป็นทุกข์ มีApiโดยความเป็นสุข
ตามเห็นโดยความเป็นอนัตตา มีApiโดยความเป็นอัตตา ยอมเบื่อหน่าย
มิใช่นิ อ่อนไม่คลายกำหนด มิใช่กำหนด ยอมดับเสีย มิใช่ให้เกิดขึ้น
อ่อนสลัดกั้นเสีย มีApiกล่าวไว้ เมื่อความเห็นโดยความไม่เที่ยง ย่อมและ
นิจจสัญญา (ความสำคัญว่าเที่ยง) ได้ เมื่อความเห็นโดยความเป็นทุกข์
ย่อมและสุขสัญญา (ความสำคัญว่าเป็นสุข) ได้ เมื่อความเห็นโดยความ
เป็นอนัตตา ย่อมและอัตตสัญญา (ความสำคัญว่าเป็นอัตตา) ได้ เมื่อ
เมื่อหน่าย ย่อมละนั่นทิ (ความเพลิดเพลินยินดี) ได้ เมื่ออลาย
กำหนดย่อมและพระรา ได้ เมื่อดับเสีย ย่อมละสมุทัยได้ เมื่ออัสสล
ทิงเสีย ย่อมละความยึดถือได้
จิตมีเวทนาเป็นอารมณ์...มีสัญญาเป็นอารมณ์...มีวิญญาณเป็นอารมณ์...มีจักษุเป็นอารมณ์ ฯลฯ มีธาร
มรรคาเป็นอารมณ์เกิดขึ้นแล้ว ย่อมแตกดับ ฯลฯ เมื่ออัสสลดิงเสีย
ย่อมละความยึดถือได้