วิสุทธิมรรคแปลภาค 3 ตอน 2 (ตอนจบ) วิสุทธิมรรค ภาค 3 ตอน 2 หน้า 318
หน้าที่ 318 / 329

สรุปเนื้อหา

ในบทความนี้มีการนำเสนอเกี่ยวกับการวิเคราะห์พุทธโมสะ พูดถึงความหมายและการนำเสนอวรรณกรรมที่เป็นประโยชน์ในทางพุทธศาสนา โดยเน้นหลักการสอนที่ปรากฏในวิสุทธิมรรคแปลภาค 3 และความสัมพันธ์ระหว่างพระพุทธเจ้าและพุทธโมสะ รวมถึงความรู้ที่ท่านได้รับจากการวิเคราะห์อรรถธิกำรต่างๆ หวังให้ผู้อ่านสามารถเกิดความเข้าใจในองค์ความรู้ทางพุทธศาสนาได้ดีขึ้น

หัวข้อประเด็น

-พุทธโมสะ
-วิสุทธิมรรค
-การวิเคราะห์เชิงพุทธศาสนา
-ญาณเฉลย
-อรรถกถา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยคสรุป - วิสุทธิมรรคแปลภาค 3 ตอน 2 (ตอนจบ) หน้า 317 แก่อสัตว์ทั้งปลายละมัยพุทธาภรณ์ ท่านจึงได้ นามว่า พุทธโมสะ เพราะโจงดังไปในพื้นแผ่นดิน แม้นพระพุทธองค์ ในครั้ง (อยู่ที่วาร) นั้น ท่านมีความรู้ได้แต่ง ปรกนี้ชื่อญาณเฉลยไวในวิภาคารนั้น แล้วแต่งอรรถ- กถาธรรมสังคัญ เริ่มจะแต่งอรรถถากน้อยชื่อ อรรถาลี พระรารถเรวเห็นเช่นนั้น จึงบอกว่า ปรกนี้นามว่า (ชมพุทธวิป) นี้ มีแต่พระบาลี อรรถถากาทามิไม่ อาจริยาวาทต่างๆ ก็ไม่มีเช่นกัน แต่ถ้ารกถาเป็นภาพสีหลวง ที่พระมินทรครู ทรงปราชญาณ ตรวจดูอรรถธิกำรที่ได้บัญชีสังสิตทั้ง ➀ ท่านแปลคำ "พุทธโมสะ" ว่า กล่าวธรรมะแนมัยพุทธพยากรณ์ และว่าได้นำเข้ามา ถ้าให้นำเข้าแปล จะเขียนว่า "พระโมสะของพระพุทธเจ้า" เพราะท่านชื่อ "พุทธโมสะ" เข้าน่าชื่อ เพื่อให้เราอธิบายว่าด้วยนั่นเป็นองค์ของพระพุทธเจ้าแล้ว หรืออีก "โมสะ" ไม่ใช่ชื่อเดิมของท่าน เป็นชื่อที่อู้นามนานให้คุณสมบัติของท่าน ก็แปลว่า "ผู้โมนธรรมขอพระพุทธเจ้า" หรือว่า "ผู้ประกาศธรรมของพระพุทธเจ้าให้ก้องไป" ก็ได้ ฟังแล้วหายอดอัดใจ และทำให้กล่อมใสในองค์ท่านมาขึ้นด้วย พูดแล้วพูดเถอะ ไม่มีประวัติตรงไหนสังเคราะห์ว่าท่านเป็นพระอรหันต์แล้วสึกแห่ง แล้วจะไป 2. ในตอนประวัติว่า ปรารถ คือเริ่มะแต่ง
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More