วิถีธรรมะแนปก ๓ ตอน ๒ (ตอนจบ) วิสุทธิมรรค ภาค 3 ตอน 2 หน้า 64
หน้าที่ 64 / 329

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาในบทนี้พูดถึงลักษณะของสัตว์ที่ใกล้ล้มละลาย และการเกิดขึ้นดับไปของจิตร่วมกับรูปในปฏิสนธิยิน โดยมีการอธิบายเกี่ยวกับอำนาจของกรรมและการจัดประเภทกรรมฐานที่เป็นปัจจัยในการเกิดรูปทั้งหลาย และการมีอยู่ของรูปเหล่านี้ตลอดสังสารวัฏ.

หัวข้อประเด็น

-สัตว์และกรรม
-การเกิดดับของจิตและรูป
-กรรมฐานและปัจจัยของกรรม
-วิภาคแห่งกรรมและผลของกรรม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - วิถีธรรมะแนปก ๓ ตอน ๒ (ตอนจบ) - หน้า ๖๔ แต่สำหรับสัตว์ผู้ใกล้ล้มละลาย จิต ๖ ควร ๖ อธิษฐานุอุปปนเกิด ก่อนถึงความตั้งอยู่แล้วอันเดียวกันนั้นแหละ เกิดขึ้นได้ รูปเกิดในอุป- ปาทะแห่งปฏิสนธิยิน ยอมดับไปพร้อมกับจิตงี้ ๖ ๑๒ ต่อแต่ ปฏิสนธิยิน ไป รูปที่เกิดในฐานะนั้น ( คือจิตนะ ) แห่งปฏิสนธิยิน ยอมดับไปพร้อมกับอุปปาทะแห่งจิตดวงที่ ๑๓ รูปที่เกิดในวงศ- ฐานแห่งปฏิสนธิยิน ถึงฐานะแห่งจิตดวงที่ ๑๓ ย่อมดับ ชื่อว่า ปวติ ( ความหนุนไปแห่งสังสารวัฏ ? ) ยังมีอยู่ตราบใด รูปก็อำเภอ เป็นไปอย่างนี้อยู่นั้นแหละ แต่สำหรับจำพวกโอปปาติกสัตว์ รูป ๗๐ ย่อมเป็นไปด้วยอํานาจ สันติ ๓ อย่างนั้นเหมือนกัน [ วิภาคแห่งกรรมฐาน ] ในความเป็นไปแห่งรูปนี้คือเกิดดํารวมกัน บันทัดวิจารณ์จากวิกฤต ( คง ) นี้ คือ ( ต๎๔ ) กรรม (๑) รูปที่มีกรรมเป็นสมุฏฐาน (๑) รูปที่มีกรรมเป็นปัจจัย ( ๑ ) รูปที่มีจิตอัตมีกรรมเป็นปัจจัยเป็นสมุฏ- ฐาน (๑) รูปที่มีอาหารถีอมีกรรมเป็นปัจจัยเป็นสมุฏฐาน (๑) รูปที่มีอุจฉัมมีกรรมเป็นปัจจัยเป็นสมุฏฐาน (๑) ในวิภาคเหล่านั้น กุศลดนา และอุตสกลเดนา ชื่อว่ากรรม วิภาคนี้ทั้งหลาย และรูป ๗๐ นั้นแหละ ชื่อว่ากรรมเป็นปัจจัย ด้วย ว่ากรรมอ่อนเป็นอุปปั้มกัปปิจิ๋งแห่งรูปที่มีกรรมเป็นสมุฏฐานด้วย
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More