วิสุทธิมรรคแปล ภาค ๑ ตอน ๒ (ตอนจบ) วิสุทธิมรรค ภาค 3 ตอน 2 หน้า 175
หน้าที่ 175 / 329

สรุปเนื้อหา

บทความนี้พูดถึงวิบาสนาญและพระอริยบุคคล ๓ โดยอธิบายว่าความเป็นสุขและอุปนิษฐิวิโมกข์เกิดจากการเปลื้องความปรารถนาในชีวิต วิบาสนาญมีความสำคัญในการเชื่อมโยงกับพระอริยบุคคล ๓ ประเภท ได้แก่ สหญาณธรรม, สหญาณวิม, และคายสักขี ซึ่งเป็นปัจจัยสำหรับการเข้าใจธรรมะในมนุษย์ โดยอธิบายถึงคุณลักษณะของบุคคลเหล่านี้ในบริบทของความไม่เที่ยงและการบรรลุอริยญ์.

หัวข้อประเด็น

-วิบาสนาญ
-พระอริยบุคคล ๓
-อุปนิษฐิวิโมกข์
-การเปลื้องความปรารถนา
-การเข้าใจธรรมะ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค- วิสุทธิมรรคแปล ภาค ๑ ตอน ๒ (ตอนจบ) - หน้าที่ 175 โดยความเป็นของเที่ยวได้ ทุกขาบาปสานาญชื่ออุปนิษฐิวิโมกข์ เพราะเปลื้องความปรารถนาโดยความเป็นสุขได้ อนุตตาปาสนาญ ชั่วอุปนิษฐิวิโมกข์ เพราะเปลื้องความปรารถนาโดยความเป็น อัตตาได้ ดังนั้น ถึงภายอยู่ ถึงกระนั้น วิบาสนาญนี้ก็กล้าเป็น อนิมิตตะ โดยนิปิรินาย (เป็นแต่โดยนิราย) เพราะยังจะทิ้งสงขร- นิมิตไม่ได้ แต่ว่าเป็นสุขะและเป็นอุปนิษฐิวิโมกข์โดยนิปิรินายได้แท้ อนึ่ง วิบาสนาญ ท่านยกขึ้น (เรียก?) ในขณะแห่งร่มอรรถ ก็ด้วย อำนาจที่มาแห่งวิบาสนาญนั้น พึงทราบว่า (ในอธิธรรม) ท่าน กล่าวว่าแต่โมกข์ ๒ คือ อุปนิษฐะ สุขะะ ก็เพราะเหตุ (ที่เป็น โดยนิปิรินาย) นั้น นี่เป็นวิบาสนาญกกในวิบาสนีกานี้ก่อน [พระอริยบุคคล ๓] ในคำที่ข้าพเจ้าใกล่าวไว้คือว่า วิบาสนาญนี้ เป็นปัจจัยเพื่อ จำนำพระอริยบุคคล ๓ ประเภท พึงทราบอรรถธิบายดังนี้ ก่อนอื่น (พึงทราบว่า) บุคคลเหล่านี้ คือ สหญาณธรรม สหญาณวิม คายสักขี อุกโภวาคุญ พัมมานุสตร์ คุอัญจิทะ ปัญญาวิมคติ ชื่อว่าพระอริ-บุคคล ๓ สังบูรณาญานนี้ ย่อมเป็นปัจจัยเพื่อจำนำพระอริ-บุคคล ๓ นั้น ขยายความว่า บุคคลในมนุสนิการไปโดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นผู้มาไปด้วยอริยญ์ ย่อมได้แก่พระอริยบุคคลนั้นเป็น
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More