วิถีธรรม: ความสุขและอนิสงส์จากการปัญญาภาวนา วิสุทธิมรรค ภาค 3 ตอน 2 หน้า 280
หน้าที่ 280 / 329

สรุปเนื้อหา

ในภาคนี้กล่าวถึงความสุขอันบริสุทธิ์ที่เกิดจากการปัญญาภาวนา เปรียบเทียบรสชาติความสุขนี้กับน้ำผึ้งและอธิบายถึงอนิสงส์จากการเข้าถึงนิธโรสมาภูติ ประสบการณ์นี้เป็นผลจากการฝึกสมาธิและการจัดการกับปัญหากรรม ซึ่งช่วยให้เกิดปัญญาและความสามารถในการเข้าถึงความสุขในระดับสูงสุด ติดตามเนื้อหาเพิ่มเติมที่ dmc.tv

หัวข้อประเด็น

-วิถีธรรม
-ความสุขที่แท้จริง
-อนิสงส์จากปัญญาภาวนา
-นิธโรสมาภูติ
-การฝึกสมาธิ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประมาณฯ - วิถีธรรมโดยแปล ภาค ๓ ตอน ๒ (ตอนจบ) - หน้าที่ 280 จิงเป็นสามัญผู้ผ่อนอูนดม มีความเราร้อน อันธะรับแล้ว มือตมตรธรรมเป็นอารมณ์ เป็นผลที่ละเมียดละไม : คายโลกามินแล้ว เป็นผลที่ซาบซ่านไปด้วยความสุขอันสะอาด มีโอช ซึ่งเป็นอมตสุข" (มีรส) หวานขึ้น ยิ่งกว่าน้ำหวาน เปรียบประดุจน้ำผึ้ง เหตุตูด บันฑิตยังปัญญาให้คิดแล้วตั้งได้ ประสบความสุขนั้น อนันต์เป็นสุดยอด เยี่ยมงาของอริผลนั้น เหตุนี้น การได้ เสวยสุขของอริผลนั้น จึงกล่าวว่าเป็น อนิสงส์ของวิปสนาภาวนาในปัญญาภาวนา- วิการนี้ [นิธโรสมาภูติสมาภูสมภูติภูติ] อนิสงส์ขวา "นิธโรสมาภิวิสาภูสมภูติภูติ" ความว่า องค์นี้ เช่นแต่การได้เสวยผลแห่งอริผลแท้นั้นหาได้ แต่แม้ควาามเป็น ผู้สามารถในการเข้าถนิธโรสมาภูติ นี้ ก็พิสูจน์ว่านี้เป็นอนิสงส์ของ ปัญญาภาวนานี้ด้วย (ต่อไป) นี้เป็นปัญหากรรมเพื่อขยายความนิธโรสมาภิ ในความว่า "ความเป็นผู้สามารถในการเข้าสนิธโรสมาภิ" นั่น คือ นิธโรสมาภิ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More