ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - วิชาชีววิทยาแปล ตอน ๒ (ตอนจบ) - หน้าที 120
[นิทานติ]
ข้อว่า นิทานติ ได้แก่วิถานนิทานติ (ความพอใจในวิถีสนา) ด้วยว่า ความพอใจอย่างสุขุมมีอาการสงบ ทำความใจในวิถีสนาอันประทับ ประดาไปด้วยวิถีสนาอันหลายๆมีโอกาสเป็นต้น ดังกล่าวมานั้น ย่อมเกิดขึ้นแก่พระโหติ้น ซึ่งเป็นสิ่งที่เธอไม่อาแม้แต่จะกำหนด จับไว้ มันเป็นกิเลส
ก็แปลเมื่อโอกาสเกิดขึ้นฉันใด แม้มีอุปกิเลสที่เหลือนั้นอย่างใด อย่างหนึ่งเกิดขึ้นฉันนั้น พระ โหติาริศิต (ตื่น) ไปว่า 'ก่อนแต่ดี' ญาณเห็นปานนี้ ไม่เคยเกิดขึ้นแก่เราเลยหนา...ปิด...ปลาสติ...
สุข...อธิษฐาน...ปิดกะ...อุปฐาน...อุปบาท...นิกันติเห็น
ปานนี้ ไม่เคยเกิดขึ้นแก่เราเลยหนา เราเป็นผู้บรรลุมรรคา เป็นผู้บรรลุผลแล้วเป็นแน่" ดังนี้แล้ว ถือเอาสิ่งที่ใช้มรรคเลย ว่าเป็น มรรคไป และ (ถือเอา) สิ่งที่มีใช้ผลเลย ว่าเป็นผลไป เมื่อเธอ ถือเอาสิ่งที่ไม่มรรค ว่าเป็นมรรค สิ่งที่ไม่ผล ว่าเป็นผลไปเสีย วิปัสสนาวิถีนี้เป็นอันชะงักไป เธอก็ปล่อยกุศลสมาธของตนเสีย นั่ง ชมมินตอุ่้นนั่นเอง และ
[อุปกิเลส ๑๐ แกเป็น ๑๐ ก็ได้]
ก็แปลในวิถีสมุทิเลส ๑๐ นี้ วิถีสมุทิเลส (๔) มีโอกาสเป็นต้น ท่านเรียกว่าอุปกิเลส เพราะเป็นวัตถุ (คือเป็นที่ตั้งที่เกิด) แห่งอุปกิเลส มิใช่เพราะเป็นอุกกุศ แต่จันก็ดีเป็น (ตัว) อุปกิเลสด้วย เป็นวัตถุ