ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - วิชฌานมรรคแปลภาค ๑ ตอน ๒ (ตอนจบ) หน้าที่ 203
(มีอุทิพพญาปสัญญาเป็นต้น) เปรียบเหมือนโวหารภิญญา
ทั้ง ๔ โภพิภิทธรรม ๑๓ เปรียบเหมือนโบราณธรรม ในอุปมานั้น
พระนัั้น เมื่รับสั่ง ว่าเป็นอย่างวิญญาณนั้นเกิด ถือว่างทรง
อนุโลมแก่(คำ) วิญญาณของโวหารก็มาอาศัยทั้งหลายด้วย และ
แก่วาระธรรมด้วย ฉันใด อนุโลมญาณนี้ เมื่อปรารถนาสง่ารทั้งหลาย
โดยทางไตรลักษณ์ มือฉันลักษณะเป็นต้นเกิดขึ้น ก็ชื่อว่าอนุโลมแก่
ญาณทั้ง ๔ เพราะความที่มีภายในอย่าง (ญาณ ๒) นั้นด้วย แก่
โภพิภิทธรรม ๑๓ ในเบื้องปลายด้วย ฉันนั้น เพราะเหตุนี้แหละ
ญาณนี้ท่านจึงเรียกว่า “สัจฉานโลมญาณ" (เพราะอนุโลมแก่บรรตรล)
และ
อนุโลมญาณ จบ
ก็แปล อนุโลมญานี้ เป็นญาณสุดท้ายแห่งภูมิมีวิปัสสนา
อันมีสัมขารเป็นอารมณ์ แต่ก็ต่างโดยประกายทั้งปวงหมดละก็ โดคร-
ญาณเป็นที่สุดแห่งภูมิมีวิปัสสนา
* หมายความว่า โครธญาณนั้น ไม่แน่นในวิปัสสนาญาณถึง ก็วา ก็เป็นญาณที่ไปสู่ฐานะ
คืออธิรรม จึงควรได้นามว่าภูมานุภาพ...ด้วยเหมือนกัน และเป็นสุดท้าย เช่นนั้นกระมัง