วิริยธรรมเอกภาค ๓ ตอนที่ ๒ (ตอนจบ) วิสุทธิมรรค ภาค 3 ตอน 2 หน้า 38
หน้าที่ 38 / 329

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้สำรวจลำดับแห่งจิตและปัจจัยที่เกิดขึ้นในบทย่อยเกี่ยวกับธรรม โดยอธิบายถึงการดำรงอยู่ของจิตในอดีตและอนาคต ขณะเดียวกันยังเน้นถึงการเกิดและดับของจิต ซึ่งต้องผ่านปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะในแง่ของความสงสัยและการมีญาณในการเข้าใจศิลป์สูงสุดในพุทธธรรม การเข้าใจในปัจจัยของนามรูปและหลักการของวิญญาณได้รับการพูดถึงอย่างชัดเจนเพื่อให้ผู้อ่านสามารถเข้าใจแนวทางการปฏิบัติและผลที่ตามมา.

หัวข้อประเด็น

-ปัจจัยของจิต
-ลำดับแห่งจิต
-การเกิดและดับของจิต
-ความสงสัยในธรรม
-ญาณและปฏิบัติ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - วิริยธรรมเอกภาค ๓ ตอนที่ ๒ (ตอนจบ) หน้า 38 หนึ่งนั่นเป็นปัจจัย ก็สามารถได้ ฉันใด ธรรมสักสิ่ง ย่อมไม่ข้ามมาตุ่งนี้ จากอดีตพบ หรือไม่มามาไปสู่อนาคตนี้ แต่ดังนี้ อายะนะ ธาตุ จะไม่เกิดในบทนี้ เพราะฉันธ ธาตุ ในอดีตจะไม่เกิดเพราะฉัน ธาตุ ในบทใหม่ จะไม่เกิดเพราะฉันธ ธาตุ ในบทนี้เป็นปัจจัย ก็หาได้ ฉันนั้นเหมือนกัน [ลากาสรุปเรืองจุดปฏิบัติธรรมิก] จักฌวิญญาณมีลำดับแห่งโมหรัน แต่ฆามไม่ได้ มาจากโมหรัน ทั้งมันไม่ได้เกิดในลำดับแห่งสมโมหรัน ก็มีได้ ฉันใดดี สันติแห่งจิตย่อมเป็นไปใน ปฏิปฐิ ฉันนั้นเหมือนกัน จิตดวงก่อน (คือ จิตจิต)) แตกดับ จิตดวงหลัง (คือปฏิมาธิต) ก็เกิด (ในลำดับ) ดั่งนี้ สังข์ของจิต ทั้งสองนั้นไม่มี ลูกคลื่นไม่มีกิจทั้งสองนี้ จิต อะไร ๆ มีได้ในฎุติจิตนี้ แต่ปฏิบุติจิตก็เกิด ได้ (ตามปัจจัย) แปล ญาณที่กำหนดจบปัจจัยของนามรูป ของโจวกาวิภัคผู้บริจา ทั้งปวง ด้วยอำนาจจิตและปฏินิธออย่างนี้ ย่อมเป็นญาณถึงความมี กำลังโดยอาการทั้งปวง ความสงสัย ๑๖ ประการ เธอคะได้อย่างดี ึ่ง มีใช้แต่ความสงสัย ๑๖ ประการนั้นเท่านั้น แม้ว่าความสงสัย * อธิบายว่า ปฏิมาธิต แม้มิได้มาจากจิตจิต แต่มันก็เกิดในลำดับแห่งจุดนี้นเอง ดูจังกุ-วิญญาณมิได้มาจากกิริยามโนรฐ แต่มันก็เกิดในลำดับกิริยามโณะที่แหล่
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More