วิถีธรรมรวมแปล ภาค ๓ ตอน ๒ (ตอนจบ) วิสุทธิมรรค ภาค 3 ตอน 2 หน้า 154
หน้าที่ 154 / 329

สรุปเนื้อหา

บทนี้ถ่ายทอดความคิดเกี่ยวกับนิพพานและความหลุดพ้นจากสังขาร โดยกล่าวถึงความเบื่อหน่ายในชีวิตจากสังขาร รวมถึงการพยายามหลุดพ้นจากสิ่งที่ติดกันอยู่ภายใน ความเข้าใจในแนวคิดนี้สำคัญต่อการดำเนินชีวิตในทางธรรม เพื่อเข้าสู้พระนิพพาน ที่เป็นที่หมายสูงสุดของการแก้ไขปัญหาทุกข์ในชีวิต. โดยยกตัวอย่างถึงความยากลำบากในการออกจากสังขารที่เหมือนกับปลาในปากของศัตรู.

หัวข้อประเด็น

-ความหมายของนิพพาน
-การเบื่อหน่ายในสังขาร
-การหลุดพ้นจากความทุกข์
-จิตใจและการบรรลุธรรม
-เปรียบเทียบกับสัตว์ในอำนาจศัตรู

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยคสรุป - วิถีธรรมรวมแปล ภาค ๓ ตอน ๒ (ตอนจบ) หน้าที่ ๑๕๔ นวานปิสา ก์เพราะยัง (ความคิดเห็น) โทษในสังขารเหล่านั้นแหละ ให้เกิดขึ้น กลายเป็นชื่อว่านิพพานนั่น ก็เพราะเมื่อหน่ายในสังขาร เหล่านั้นและกลั้นนี้ดีมั้ยในพระบาลีกล่าวไว้ว่า "ความรู้วุ่นใน ภพฐุตฐานอันใดก็ดี ความหลงในอาธีพึงกลัว ในนิพพานอันใด ดีก็ ธรรมเหล่านี้อวออรณ์เดียวกัน ต่างกันแต่พญักษ์นะ" ดังนี้ ก็แล้ว เมื่อ (โยคาวจร) กุลบุตรผู้นี้เบื่อหน่ายอยู่ ระอาอยู่ ไม่ยินดี อย่างยิ่งอยู่ ด้วยนิพพานภาญนี้ จิตอย่าไม่ปิติ ไม่บังไม่ผูกพันอยู่ใน สังขารทั้งหลาย อันแตกอยู่ทั่วไปในภาพ กำเนิน คดี วิญญาณดี สัตว์วาสทั้งปวง เป็นจิตใจจะเปลืองไป ใครจะออกไปจากสังขาร ทั้งปวง ข้อนี้เปรียบเหมือนอะไร ? เปรียบเหมือนสัตว์ชนวาสปลาที่ (ตก) อยู่ภายในต่ายก คบอยู่ในปาก ง ไว้ในปาก น นี้ออยู่ ในอำนาจวอ่อนมัน ช่างกล่มมใหญ๋ พญานาคอยู่ ในปากครุฑ พระอาทิตย์ (พัลล) เข้าปากครุฑ บ บุรฤกษ์ศัตรูล้อม อย่างนี้เป็นต้น ย่อมเป็นผู้นำจะปลิดไป ใครจะออกไปจากที่ ๆ ติด อยู่นั้น ๆ จิตของพระโยคนี้ก็เป็นจิตใจจะเปลืองไป ใครจะ ออกไปจากสังขารทั้งปวงตอนนี้นั่น เมื่อเป็นอย่างนั้น มูฏจุจอุปะตาญาณ จึงเกิดขึ้นแก่เธอผูปราศจากอาสัยในผลสังขาร ใครจะพ้นไปจากสังขาร ทั้งปวงดังกล่าวมานี้แล้ว มนุจิตกับมูลอาญาญาณ จบ * ดูซิ่งอรรถหน้า ๑๕๓
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More