ประโยคสรรพ - วิญญาวิภาค ๓ ตอน ๒ (ตอนจบ) วิสุทธิมรรค ภาค 3 ตอน 2 หน้า 157
หน้าที่ 157 / 329

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาในบทนี้เสนอการวิเคราะห์สรรพสิ่งซึ่งได้แก่ ชาติ, ชรา, พุทธิม, มร, โลภ, ปิฏท, และความเศร้าหมอง ที่เกี่ยวเนื่องกับเหตุผลทางธรรมชาติของจิตมนุษย์ โดยเน้นการตีความในมุมมองทางพุทธศาสนา ทั้งยังชี้ให้เห็นถึงการรับรู้ในรูปแบบที่ต่างออกไปของสรรพสิ่งและความเกิดขึ้น-ดับไปอย่างอนัตตาและความอยู่ว่าง

หัวข้อประเด็น

-การวิเคราะห์สรรพสิ่ง
-จิตมนุษย์ในพุทธศาสนา
-ความอนัตตา
-ธรรมชาติของทุกข์
-การตีความทางพุทธศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยคสรรพ - วิญญาวิภาค ๓ ตอน ๒ (ตอนจบ) หน้าที่ 157 ชาติผสมโท โดยเป็นสิ่งมีชาติเบ็นธรรมดา ชราผสมโท โดยเป็นสิ่งมีวรรเป็นธรรมดา พุทธิมผสมโท โดยเป็นสิ่งมีพระเป็นธรรมดา มรผสมโท โดยเป็นสิ่งมีมรณะเป็นธรรมดา โลภผสมโท โดยเป็นสิ่งมีมงระเป็นธรรมดา ปิฏทผสมโท โดยเป็นสิ่งมีโลภะเป็นธรรมดา อุปายาสผสมโท โดยเป็นสิ่งมีอุบายเป็นธรรมดา สงกิเลสผสมโท โดยเป็นสิ่งมีความเศร้าหมองเป็นธรรมดา ยอดเห็นได้โดยเป็นของไม่งาม อันเป็นบริวารแห่งทุกข์นะ โดยเหตุทั้งหลายเช่นว่า อญฺญุตโต โดยเป็นสิ่งไม่งาม ทุกคุณโต โดยเป็นสิ่งมีกลิ่นเหม็น เชคุณโต โดยเป็นสิ่งนำระเกียง ปฏิคุณโต โดยเป็นสิ่งปฏิกูล อมฏฺฐานหฺโต โดยเป็นสิ่งใช้กิ้งด (ความปฏิกูล) ได้ด้วยการแต่ง วิรุณโต โดยเป็นสิ่งน่าเกลียด วิฺจุณโต โดยเป็นสิ่งน่าขะเขรง ย่อมเห็นได้โดยความอนัตตา โดยเหตุทั้งหลายเช่นว่า ปโรโต โดยเป็นฝ่ายอื่น รือโต โดยเป็นของว่าง
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More