วิถีธรรมรวมแปลภาค ๓ ตอน ๒ วิสุทธิมรรค ภาค 3 ตอน 2 หน้า 231
หน้าที่ 231 / 329

สรุปเนื้อหา

บทความนี้นำเสนอความเข้าใจเกี่ยวกับธรรมที่เป็นสังโยชน์ทั้ง 10 ประการ ซึ่งมีผลผูกมัดผู้มีจิตใจให้เกี่ยวข้องกับโลกและอธิโลก ธรรมเหล่านี้รวมถึงกิเลสที่ทำให้จิตใจมืดมัว โดยเฉพาะธรรม 9 ประการที่เกี่ยวข้องกับมิจฉาทิฏฐิและวิถีการดำเนินชีวิตตามพระธรรมที่แท้จริงเพื่อให้พ้นทุกข์ หัวข้อสำคัญเหล่านี้เป็นพื้นฐานในการศึกษาและปฏิบัติธรรมเพื่อหลุดพ้นจากอุปาทานและความทุกข์ในชีวิต.

หัวข้อประเด็น

- สังโยชน์ในธรรม
- ความหมายของกิเลส
- มิจฉาตะในพระพุทธศาสนา
- ธรรม 10 ที่ผูกมัด
- การหลุดพ้นจากอุปาทาน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยคสรุป: วิถีธรรมรวมแปลภาค ๓ ตอน ๒ (ตอนจบ) - หน้าที่ 231 โคตะ นิวรมณ์ ปรามาศ อุปาทาน อนุตะ มูละ องค์อุดมธรรมและ องค์จิตตเภทตามควรแก่โคตะ [สังโยชน์] ในธรรมเหล่านั้น ธรรม ๑๐ มีปรากฏเป็นต้น เรียกว่า สังโยชน์ เพราะเป็นธรรมผูกมัดทั้งหลาย (ในโลก) ไว้กับขันธ์ทั้งหลาย (ในอธิโลก) ผูกธรรมไว้กับผล หรือผูกสัตว์ทั้งหลายไว้กับทุกๆ จริงอยู่ ธรรมมีปรากฏเป็นต้นนั้น ยังมีอุตตราบใด เข้น็ ผล และทุกๆทั้งหลาย นั่น ก็ยังไม่ขาดไปปรามันแต่อา ในธรรม ๑๐ นั้นแล้ว ธรรม นี้ คือ รูปรา อรูปา มานะ อุตัชชะ ชื่ออุตรามาก็น่าสังโข เพราะผูกกันที่เกิดในเบื้องสูง (คือในรูปภาพและอรูปภาพ) เป็นต้น ไว้ ธรรม ๕ นี้ คือ สักกายทูฏู วิจิกิจ ฐิสาพตปรามาส านมะ คามะ เพราะนั่นที่เกิดในเบื้องต่ำ (คือในภาพภาพ) เป็นต้นไว้ [กิเลส] ธรรม ๑๐ นี้ คือ โลกะ โกสะ โมทะ มานะ ทิฏฐิ วิจิกิจา ดีนะ อุตัชชะ อนุตตัปปะ ชื่อว่า กิเลส เพราะตัวมันเอง ก็ращาหมอง และเพราะมันยังทำสมุปลธรรมทั้งหลายให้เศร้าหมองด้วย [มิจฉาตะ] ธรรม ๙ นี้ คือ มิจฉาทิฏฐิ มิจฉาสังกัปปะ มิจฉาวาจา มิจฉาสติ มิจฉามาริ หรือ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More